กรณีศึกษาผู้ป่วยโรคเนื้องอกประสาทต่อมไร้ท่อในหูชั้นกลางในโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
คำสำคัญ:
เนื้องอกหูชั้นกลาง, เนื้องอกหูชั้นกลาง โรคเนื้องอกประสาทต่อมไร้ท่อ, หูชั้นกลางบทคัดย่อ
เนื้องอกประสาทต่อมไร้ท่อเป็นสาเหตุของก้อนเนื้อในหูชั้นกลางที่พบไม่บ่อย พยาธิกำเนิดยังไม่ทราบแน่ชัดเนื่องจากข้อจำกัดที่มีการรายงานผู้ป่วยเป็นจำนวนน้อย มีการรายงานว่าอายุเฉลี่ยของผู้ป่วยอยู่ในช่วงอายุ 50 ปี และไม่มีความแตกต่างระหว่างเพศ อาการที่พบมากที่สุดคือการนำเสียงลดลงในหูข้างที่เป็น อาการอื่นที่พบได้แก่ หูอื้อ มีเสียงในหู และเวียนศีรษะ การผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออกได้ผลดีในผู้ป่วยกลุ่มนี้ รายงานนี้นำเสนอผู้ป่วยหญิงอายุ 37 ปี มีก้อนเนื้องอกในหูข้างซ้าย ก้อนเนื้องอกได้รับการตัดส่งตรวจทางพยาธิวิทยา ผลชิ้นเนื้อพบว่าเป็นเนื้องอกประสาทต่อมไร้ท่อในหูชั้นกลางร่วมกับหูน้ำหนวกชนิดรุนแรงที่โพรงอากาศหลังหูข้างซ้าย หลังจากนั้นผู้ป่วยได้รับการส่งต่อไปยังโรงเรียนแพทย์เพื่อรับการผ่าตัดเอาเนื้องอกออกทั้งหมด เนื่องจากในปัจจุบันการรักษาหลักของโรคนี้คือการผ่าตัดก้อนเนื้องอกออกทั้งหมด
References
Wenig B. Atlas of head and neck pathology. 3rd ed. Amsterdam: Elsevier; 2016.
Hyams VJ, Michaels L. Benign adenomatous neoplasm (adenoma) of the middle ear. Clin Otolaryngol Allied Sci 1976;1(1):17–26. doi:10.1111/j.1365-2273.1976.tb00637.x.
Bell D, El-Naggar AK, Gidley PW. Middle ear adenomatous neuroendocrine tumors: a 25-year experience at md anderson cancer center. Virchows Arch 2017;471(5):667–72. doi:10.1007/s00428-017-2155-6.
Ramsey MJ, Nadol JR, Pilch BZ, McKenna MJ. Carcinoid tumor of the middle ear: clinical features, recurrences, and metastases. Laryngoscope 2005;115(9):1660–6. doi:10.1097/01.mlg.0000175069.13685.37.
Pelosi S, Koss S. Adenomatous tumors of the middle ear. Otolaryngol Clin North Am 2015;48(2):305–15. doi:10.1016/j.otc.2014.12.005.
Torske KR, Thompson LD. Adenoma versus carcinoid tumor of the middle ear: a study of 48 cases and review of the literature. Mod Pathol 2002;15(5):543–55. doi:10.1038/modpathol.3880561.
El Naggar AK, Chan JKC, Takata T, et al. Who classification of the head and neck tumors. IARC Press;2017.
Saliba I, Evrard AS. Middle ear glandular neoplasm: adenoma, carcinoma or adenoma with neuroendocrine differentiation: a case series. Cases Journal 2009;2:6508. doi:10.1186/1757-1626-0002-0000006508.
Katabi N. Neuroendocrine neoplasms of the ear. Head and Neck Pathology. 2018;12(3):362–6. doi:10.1007/s12105-018-0924-4.
Mete O, Wenig BM. Update from the 5th edition of the World Health Organization classification of Head and Neck Tumors: overview of the 2022 WHO classification of head and neck neuroendocrine neoplasms. Head Neck Pathol. 2022;16(1):123–42. doi:10.1007/s12105-022-01435-8.
Bruschini L, Canelli R, Cambi C, et al. Middle ear neuroendocrine adenoma: a case report and literature review. Case Rep Otolaryngol. 2020. doi:10.1155/2020/8863188
Rahal PB, Wangberg B. Neuroendocrine adenoma of the middle ear—an intriguing entity. Clin Case Rep. 2021;9:1358–61. doi:10.1002/ccr3.3767.
Sukumaran Y, Pol Ong Y, Siow Ping L, Ong CA, Narayanan P. Cureus. Middle ear neuroendocrine tumor mimicking as chronic otitis media. 2023;15(7):e42296. doi: 10.7759/cureus.42296.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์บทความเป็นของผู้เขียนบทความ แต่หากผลงานของท่านได้รับการพิจารณาตีพิมพ์ลงวารสารแพทย์เขต 4-5 จะคงไว้ซึ่งสิทธิ์ในการตีพิมพ์ครั้งแรกด้วยเหตุที่บทความจะปรากฎในวารสารที่เข้าถึงได้ จึงอนุญาตให้นำบทความในวารสารไปใช้ประโยชน์ได้ในเชิงวิชาการโดยจำเป็นต้องมีการอ้างอิงถึงชื่อวารสารอย่างถูกต้อง แต่ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ในเชิงพาณิชย์