การรับรู้หลักการทำงานเวชปฏิบัติครอบครัวของทันตแพทย์เขตสุขภาพที่ 9
คำสำคัญ:
เวชปฏิบัติครอบครัว, ทันตแพทย์เขตสุขภาพที่ 9, การรับรู้หลักการทำงานเวชปฏิบัติครอบครัว 6 ด้านบทคัดย่อ
นักเรียน นักศึกษา จัดอยู่ในกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวังการติดเชื้อซิฟิลิส เนื่องจากอยู่ในกลุ่มวัยเจริญพันธุ์และมีความอยากรู้อยากลอง เพื่อนฝูง สภาพแวดล้อมต่างๆ ซึ่งอาจทำให้เสี่ยงต่อการยั่วยุให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อซิฟิลิสได้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์ ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมป้องกันโรคซิฟิลิสในนักเรียนอาชีวศึกษา และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันโรคซิฟิลิสในนักเรียนอาชีวศึกษากลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนอาชีวศึกษา แห่งหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 320 คน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามสัมพันธภาพในครอบครัว แบบทดสอบความสามารถในการอ่าน แบบสอบถามความฉลาดทางสุขภาพเรื่องซิฟิลิส แบบสอบถามการรับรู้เรื่องโรคซิฟิลิส แบบสอบถามการควบคุมตน มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.73 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติ chi – square และสถิติ Spearman Rank correlation ที่ระดับนัยสำคัญสถิติ เท่ากับ 0.05
ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนอาชีวศึกษามีพฤติกรรมการป้องโรคซิฟิลิสอยู่ในระดับปรับปรุง ปัจจัยที่มีความ ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมป้องกันโรคซิฟิลิสของนักเรียนอาชีวศึกษาคือ เพศ ผลการเรียนที่ผ่านมาสัมพันธภาพในครอบครัว ความฉลาดทางสุขภาพภาพ การ รับรู้ความรุนแรง และการรับรู้ประโยชน์ในการป้องกันโรคซิฟิลิสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่ง ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางให้กับสถานศึกษาในการส่งเสริมพฤติกรรมป้องกันโรคซิฟิลิสและป้องกัน พฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ในนักเรียนอาชีวศึกษา
References
คณะอนุกรรมการการพัฒนาเครือข่ายบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. (2545). เอกสารข้อเสนอเชิงนโยบาย เล่มที่ 3 เรื่อง การจัดเครือข่ายบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข
เดชา คนธภักดี, นวลฉวี เพิ่มทองชูชัย, ยุพันธ์ จริยะธีรวงศ์, ฐานดา เกียรติเกาะ, นวลพรรณ พิมพิสาร, สุพิชฌาย์ วิชิโต, และคณะ.(2561). การรับรู้ของผู้บริหารโรงพยาบาลและผู้ปฏิบัติงานปฐมภูมิต่อนโยบายคลินิกหมอครอบครัว: ความเข้าใจ ความรู้สึก ความคาดหวัง ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ. วารสารวิจัย/ระบบสาธารณสุข; 12(2):267-279.
ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งระเทศไทย. (2553). หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านเพื่อวุฒิบัตรประกอบความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2553
วิชุดา จิรพรเจริญ. แนะนำหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว (Introduction to Family Medicine Training). (2561). ใน ชวินทร์ เลิศศรีมงคล, วิชุดา จิรพรเจริญ. เวชปฏิบัติครอบครัว (Family Practice) พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: Box Office Graphic Design; 6-7.
วัลธินี ปิงแก้ว. สภาวะฟันผุและพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพโดยผู้ปกครองของเด็กอายุ 4-5 ปี อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2549.
สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2559). แนวทางการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว สำหรับหน่วยบริการ.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
สำนักนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2559). แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข; 2559.
สุพัตรา ศรีวณิชชากร. (2541). สรุปเนื้อหาสำคัญโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบบริการเวชปฏิบัติทั่วไป โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบบริการเวชปฏิบัติทั่วไปในประเทศไทย. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
สุพัตรา ศรีวณิชชากร, ทัศนีย์ ญาณะ, ณัฐกา สงวนวงษ์. (2556). สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล. สมรรถนะหลักด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและเวชปฏิบัติทั่วไปของบุคลากรในหน่วยบริการปฐมภูมิ. สมรรถนะของบุคลากรสาธารณสุขปฐมภูมิ.1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด; 2-12
สุรเกียรติ อาชานุภาพ. (2561). คู่มือหมอครอบครัวฉบับสมบูรณ์ : 1. คู่มือหมอครอบครัว.พิมพ์ครั้งที่ 4. สมุทรสาคร: หมอชาวบ้าน;.4
อนุวัตร แก้วเชียงหวาง, เสาวนันท์ บาเรอราช, กฤติณ ศิลานันท์. (2556). ความเข้าใจในบทบาทแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของผู้บริหารงานบริการปฐมภูมิในระดับอำเภอ จังหวัดมุกดาหาร: วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1; ฉบับที่ 3 (ตุลาคม – ธันวาคม 2556).
เอกสารประกอบการอบรมเรื่องการฝึกปฏิบัติงาน Primary care; วันที่ 1-12 กันยายน 2557. เข้าถึงเมื่อ 6 เม.ย.2563.
American Academy of Family Physicians. Primary care. (2019). [cited 2019 Feb 9]; available from: http://www.aafp.org/about/policies/all/primary-care.html
Aveyard H, Sharp P, Woolliams M. (2011). A Beginner’s Gude to Critical thinkink and writing in Health and Social care. UK: Open University Press
Benefits of Patient-Centered Care. (2011). [homepage on the internet]. Eaker Epidemiology Enterprises [cite, July 02]. Available from: http://www.talktoyourdoc.com/advbenefits.html
E. B. (1969). The possibilities of patient-centred medicine. Journal of the Royal College of General Practice ;17. Epub 34.
Eastaugh SR. (2004). Reducing litigation costs through better patient communication. Physician Exec; 30(3);36-38.
Foster HP, Schwartz J, DeRenzo E. (2002). Reducing legal risk by practicing patient-centred medicine. Arch Intern Med 2002; 162(11):1217-19.
Illingworth R. (2010). What dose ‘patient-centred’ mean in relation to the consultation The Clinical Teacher ;7(2):116-20.
Mead N, Bower P. (2000). Patient-centredness; a conceptual framework and review of the empirical literature. Social science & Medicine ; 51(7):1087-110.
Saxton JW. (2001). How to increase economic returns and reduce liability exposure: Part 1-Patient satisfaction as an economic tool. J Med Pract Manage; 17(3):142-44.
Starfield B. (1998). Primary Care: Balancing Health Needs, Services, and Technology. Oxford: Oxford University Press; 1998.
Stewart M. (2001). Towards a global definition of patient centred care. BMJ. British Medical Journal;322(7284);444-5.
Stewart M, Brouwn JB, Weston WW, McWihinney IR, McWilliam CL, Freeman TR. (2003). Patient- Centered Medicine Transforming the Clinical Method. In: Stewart M, Brouwn JB, Freeman TR, editors. 2nd ed. United Kingdom: Radcliffe Medical Press
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร วารสารสาธารณสุขและสุขภาพศึกษา (Thai Journal of Public Health and Health Education) เป็นลิขสิทธิ์ของ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี