ความเครียดของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทันตสาธารณสุข วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

ผู้แต่ง

  • ชมพูนุช พัวเพิ่มพูลศิริ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี
  • วุฒิฌาน ห้วยทราย วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

ความเครียด, นักศึกษาทันตสาธารณสุข, การจัดการเรียนการสอน, ทักษะในการเรียน

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเครียดและการเปรียบเทียบความเครียดระหว่างชั้นปีของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทันตสาธารณสุข ประชากรคือ นักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทันตสาธารณสุข วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ชั้นปีที่ 1-3 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 121 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประเมินความเครียดจำนวน 60 ข้อ มาตรวัด 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา  การทดสอบที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)

ผลการวิจัยพบว่านักศึกษามีความเครียดโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (µ = 3.04, S.D. ± 0.70) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยความเครียดมากที่สุดคือด้านทักษะในการเรียน (µ  = 3.23, S.D. ± 0.82) รองลงมาคือด้านสภาพแวดล้อมทางการเรียน (µ  = 3.13, S.D. ± 0.85) ด้านการจัดการเรียนการสอน (µ = 3.11, S.D. ± 0.83) และด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน (µ = 2.67, S.D. ± 0.92) ตามลำดับ ผลการเปรียบเทีย[ความเครียดของนักศึกษา พบว่า นักศึกษาที่มีระดับชั้นปีที่ต่างกัน (P< 0.023) และมีฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวต่างกัน (P<0.020)  มีความเครียดโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ P< 0.05 ดังนั้นจึง ควรส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศการเรียนให้มีความรู้สึกที่ผ่อนคลายโดยอาศัยทักษะการสอนที่ดี ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ ร่วมกับให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน

References

กรมสุขภาพจิต. (2558). เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติครั้งที่ 14 และการประชุมวิชาการ

สุขภาพจิตและจิตเวชเด็กครั้งที่12. กรุงเทพฯ: กรมสุขภาพจิต.

กันตาภา ศรีชมษร และตะวันรอน สังยวน. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย, 16(3), 34-41.

คมกริช นันทะโรจพงศ์, ภูธิป มีถาวรกุล, ธีระวัฒน์ จันทึก. (2561). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผล

ต่อพฤติกรรมการจัดการความเครียดของวัยรุ่นตอนกลาง. สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,

(1), 3-38.

จิรภา วรรณคำ, พิมพ์ชนก สุปาลนันท์, พัณณิตา เวียงธีรวัฒน์ และศิรดา ออประยูร. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ

ความเครียดของนักศึกษาทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 9(1), 217-

ชาญวุฒิ ธิติรัตนโชติ, ณัฐญาดา เหล่าคงธรรม, วิสันต์ มาวงษ์, ทัตตา ศรีบุญเรือง และสุวรรณา ภัทรเบญจพล.

(2556). การประเมินสุขภาพจิตและความเครียดของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี.

วารสารเภสัชศาสตร์อีสาน, 9(1), 66-71.

ทัศนา ทองภักดี. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์ในมหาวิทยาลัยกับบุคลิกภาพของนิสิตปริญญาตรี

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้นจาก

http://bsris.swu.ac.th/filenews/112.pdf

ธรรมศักดิ์ สายแก้ว, สุนนทา ศรีศิริ และสมฤดี สายหยุดทอง (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดของนักศึกษา สาธารณสุข

ศาสตร์ในวิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัด สมุทรสงคราม. วารสาร

ดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 9(3), 612-628.

ธัญญารัตน์ จันทรเสนา. (2555). ความเครียดของนิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

(วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้น

จาก https://tdc.thailis.or.th/tdc/

พระครูใบฎีกามณฑล เขมโก (ชูโตศรี). (2562). อิทธิพลของสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

ระดับอุดมศึกษา. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, 10(1), 192-200.

พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์ และคณะ. (2563). แนวโน้มและปัจจัยที่มีผลต่อระดับสุขภาพจิตคนไทย: การสำรวจระดับชาติ

ปี พ.ศ. 2561. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย; 28(2): 121-135.

พิชฌาย์วีร์ สินสวัสดิ์ และเบญจวรรณ พิททาร์ด. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับคุณภาพชีวิตของนักศึกษา

พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี. วารสารเกื้อการุนย์, 23(1), 7-20.

พิมลมาศ เกตุฉาย. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารกับครูผู้สอน

ภาษาอังกฤษที่เป็นเจ้าของภาษา: กรณีศึกษานักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2

วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ (วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร คณะ

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). ชลบุรี. มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc/

รุ่งรัตน์ ระย้าแก้ว. (2555). ความเครียดของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 4-6 กรณีศึกษาศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก (วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาแพทยศาสตรศึกษา คณะ

แพทยศาสตร์). พิษณุโลก. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร. สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc/

วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี. (5 เมษายน 2564). ประวัติความเป็นมา. เข้าถึงได้จาก วิทยาลัยการ

สาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี: https://scphub.ac.th/?page_id=146

ศลักษณา กิติทัศน์เศรณี, สุปานี สนธิรัตน์ และทิพย์วัลย์ สุรินยา. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเลี้ยงดูของบิดา

มารดากับภาวะซึมเศร้าของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 4. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 15(1), 36-47.

ศุภกร ศรีแผ้ว. (2563). การเปลี่ยนแปลงในช่วงวัยรุ่น (Pubertal change). สืบค้นจาก https://meded.psu.ac.th/

binlaApp/class05/388_541_2/Working_with_adolescents_in_family_medicine/index2.html#

สมิต อาชวนิจกุล. (2542). เครียดเป็นบ้า. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ดับเบิ้ลนายน์ พริ้นติ้ง.

สายด่วนสุขภาพจิต. (2563). กรมสุขภาพจิตเผยวัยรุ่นไทยปรึกษาสายด่วนสุขภาพจิต 1323 ปี 2562. สืบค้นจาก

https://www.prdmh.com

หงษ์ศิริ ภิยโยดิลกชัย และคณะ. (2558). ความเครียด และการแก้ปัญหาความเครียดของนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยี

สารสนเทศทางธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร์ บพิตรพิมุข จักวรรดิ. นครปฐม. มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์. สืบค้นจากhttp://110.164.147.155/kmhealth_new/Documment/

psychiatry/adult/P1.2.10.pdf

อรุณี มิ่งประเสริฐ. (2557). การศึกษาสุขภาพจิตและความเครียดของนักศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 40(2), 211-227.

Best, J. W. (2013). Research in education (Vol. 2). Englewood Cliffs,New Jersey : Prentice Hall, Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-20