ประสิทธิผลของโปรแกรมการสอนแนะผู้ดูแลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจาระร่วง ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี

ผู้แต่ง

  • ปาริชาติ อาษาธง

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการสอนแนะผู้ดูแลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจาระร่วงในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี

วิธีดำเนินการวิจัย : เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่ม วัดก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ดูแลเด็กป่วยอายุต่ำกว่า 5 ปีที่ได้รับการวินิจฉัยว่าโรคอุจจาระร่วง จำนวน 40 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 20 รายโดยจับคู่ให้มีความคล้ายคลึงกันในด้านการศึกษา อายุ และประเภทของผู้ดูแล กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการสอนแนะตามแนวคิดของ Girvin เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย โปรแกรมการสอน แผนการสอน  คู่มือการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี  รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบ สอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วง ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่า CVI เท่ากับ 0.97  มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติทดสอบที

ผลการศึกษา :เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยผลต่างคะแนนพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงใน เด็กของผู้ดูแล ภายหลังการทดลอง ระหว่างกลุ่มทดลองและ กลุ่มควบคุม พบว่า มีค่าเฉลี่ยของผลต่างของคะแนนพฤติกรรมฯ เท่ากับ 7.3 3 คะ แนน ( S.D.= 0.61) และ 5.60 คะแนน (S.D.= 0.34) ตามลำดับ และเมื่อเปรียบเ ทียบค่าเ ฉลี่ยผลต่างคะแนนพฤติกรรมฯ พบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยของผลต่างของคะแนนพฤติกรรมฯ แตกต่างกันอย่างุ่มีนัยสำคัญทาง่สถิติ(p<0.05)ิโดยกลุ่มทดลองมี่ค่าเฉลี่ยของผลต่างของคะแนนพฤติกรรมฯสูงกว่ากลุ่มควบคุม 1.73 คะแนน(Mean diff =1.73; 95% Cl : 1.41-2.05, p<0.001)

สรุปและข้อเสนอแนะ : โปรแกรมการสอนแนะผู้ดูแลสามารถเสริมสร้างพฤติกรรมการป้องกันโรคอุจาระร่วงในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีได้

คำสำคัญ : โปรแกรมการสอนแนะผู้ดูแล, พฤติกรรมการป้องกัน, โรคอุจาระร่วง

References

World Health Organization. World Health Statistic 2014.

World Health Organization. World Health Statistic 2016.

World Health Organization. Diarrhea: Why children are still dying and what can be done. WHO Library Cataloging-in-Publication Data page 2009; 18-29.

Carvajal-Vélez L, A Amouzou, Perin J, Maïga A, Tarekegn H, Akinyemi A, et al. Diarrhea management in children under five in sub-Saharan Africa: does the source of care matter? A Countdown analysis. Carvajal-Vélez et al. BMC Public Health 2016; 16:830.

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ระบบเฝ้าระวังโรค(รง 506). สืบค้นจาก http://epid.moph.go.th/surdata/index.php. เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2561.

สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก(สำหรับครูผู้ดูแลเด็ก).พิมพ์ครั้งที่2 นนทบุรี:โรงพิมพ์สำนักงานพระพุธศาสนาแห่งชาติ 2554.

World Health Organization. The management and prevention of diarrhea: Pratical guidelines.3rded. Macmillan: Belgium;1993.

World Health Organization. The treatment of diarrhea: a manual for physicians and and other senior health workers. 4th rev. ed. Geneva: World Health Organization; 2005.

World Health Organization. Guidelines on treatment of diarrhea. Oncall Child Health Care; 2005

สำเนียง ทองทิพย์, สมคิด ปราบภัย. ประสิทธิผลของการสอนแบบอิงประสบการณ์เพื่อการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็กก่อนวัยเรียน.วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ; 2560, 23 (3),18-25.

พรทิพย์ แก้วชิณ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของผู้ดูแลเด็กในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุระหว่าง0-5ปี กรณีศึกษาหมู่บ้านระกาย ตำบลจอหอ อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา.วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา2555;2:17-24.

รัชนี ธีระวิทยเลิศ, สุกัญญา จงถาวรสถิตย์, ปิ่นนภ นรเศรษฐพันธ์, สำนักโรคติดต่อ, กรมควบคุมโรค. ความรู้และพฤติกรรมของผู้ดูแลเด็กในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก. วารสารควบคุมโรค 2552;1:39-46.

ดิษฐพล ใจซื่อ, เรณุวัฒน์ โคตรพัฒน์, ณฐพร คำศิริรักษ์, สัมฤทธิ์ ขวัญโพน, อาภรณ์รัตน์ เนาวะดี, ธรรวรา ตันติกุลวัฒนกิจ. สถานการณ์ขยะและการจัดการขยะที่ต้นทางในชุมชน อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม2560;3,38-46.

พัฒนพร ตรีสูนย์, ประนอม รอดคำดี. ผลของโปรแกรมการสอนแนะมารดาต่อพฤติกรรมการดูแลเด็กวัยเตาะแตะโรคปอดอักเสบ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ2560;1: 55-63.

Girvin J. Coaching for improving job performance and satisfaction. Nursing Times1999;95: 55-57.

แสงรุ้ง รักอยู่, อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย, รุ้งระวี นาวีเจริญ. ผลของโปรแกรมการสอนแนะต่อความสามารถของผู้ดูแลในการแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะ. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก 2558;1: 44-56.

Haim BS. Effectiveness of motor learning coaching in children with cerebral palsy: a randomized controlled trial. Clinical Rehabilitation 2010; 24:1009-1020.

Zeus P, Skiffington SM. The coaching at work toolkit: A complete guide to techniques and practices.Sydney: McGraw-Hill;2002.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-18