การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีผ่านกล้อง โรงพยาบาลมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • ดรุณี สมบูรณ์กิจ
  • อัจฉรา มีนาสันติรักษ์
  • กมลรัตน์ สุปัญญาบุตร
  • รัชชยา มหาสิริมงคล

บทคัดย่อ

 

 

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดนิ่วในถุงนาดีผ่านกล้องในหอผู้ป่วยศัลยกรรม ทั่วไป โรงพยาบาลมหาสารคาม

วิธีดาเนินการวิจัย การวิจัยและพัฒนาโดยใช้รูปแบบการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลของศูนย์ความรู้เชิงประจักษ์ ทางการพยาบาลและผดุงครรภ์แห่งประเทศไทยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาสถาบันโจแอนนา บริกส์ โดยนำแนวปฏิบัติที่ได้ ไปใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงนาดีที่ได้รับการผ่าตัดผ่านกล้องจำนวน  30 คน ประเมินผลโดยพยาบาลวิชาชีพจานวน  10 คน เป็นการเลือกแบบเจาะจง ทำการศึกษาระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2559 ถึงกันยายน 2560 เครื่องมือที่ใช้คือแบบบันทึกการ ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยท่ผ่าตัดผ่านกล้อง แบบสอบถามความคิดเห็นต่อการนาแนวปฏิบัติไปใช้ แบบประเมินความพึงพอใจ ของผู้ป่วยและญาติ และแบบบันทึกจำนวนวันนอนเฉลี่ย ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดและการกลับมารักษาซ้ำ  วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยค่าสถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยนิ่วในถุงนาดีที่ได้รับการผ่าตัดผ่านกล้องที่ได้จากการสังเคราะห์งาน วิจัยและหลักฐานเชิงประจักษ์  ผลลัพธ์คือได้แนวปฏิบัติ Care Map การดูแลผู้ป่วย ดังนี้คือ 1) การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด

2) การพยาบาลระยะหลังผ่าตัด  3) การพยาบาลระยะจำหน่าย  ผลการนำแนวปฏิบัติไปใช้ พบว่า พยาบาลปฏิบัติตามแนว ปฏิบัติการพยาบาลร้อยละ 96 ความคิดเห็นของพยาบาลต่อการใช้แนวปฏิบัติโดยรวมอยู่ในระดับมาก ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย พบว่าจำนวนวันนอนเฉลี่ย อัตราการกลับมารักษาซ้ำจากการไม่ได้รับการดูแลตามมาตรฐานและภาวะแทรกซ้อนจากการ ผ่าตัด ต่ำกว่าก่อนการใช้แนวปฏิบัติ

สรุป  แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดผ่านกล้องนี้ช่วยให้เกิดผลที่ดีในการดูแล จึงมีความเหมาะสมที่จะ นำไปใช้ประโยชน์ในการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องในโรงพยาบาล

คำสำคัญ   :  โรคนิ่วในถุงน้ำดี  การผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีผ่านกล้อง  แนวปฏิบัติการพยาบาล

References

Stiltmimankarnt T. Gallstones in autopsy . Siriaij hosp Gaz 1966; 18:7-17.

Dubios F, Icard P, Berthelot G, Levard H. Coelio scopic cholecystectomy. Preliminary report of36 cases. Ann surg 1990;211:60-2.

ชัชวาล สมพีร์วงศ์. การผ่าตัดถุงนาดีทางกล้องวีดิทัศน์. วารสารแพทย์ทหารบก 2539;49(2):95-101.

ศักด์ชาย เรื่องสิน. ผลการผ่าตัดของผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัดถุงนาดีโดยวิธีการส่องกล้องในโรงพยาบาลสงขลา นครินทร์. วารสารแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ 2550; 25(4):315-21.
ฟองคำ ดิลกสกุลชัย.การปฏิบัตการพยาบาลตามหลักฐาน เชิงประจักษ์: หลักการและวิธีปฏิบัติ. (พิมพ์คร้งที่6). กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ; 2553

Soper NJ, Barteau JA, Clayman RV, Ashley SW, Dunnegan DL. Comparison of early postoperative result for laparoscopic versus standard open cholecysteetomy. Surg Gynecol Obstet 1992;174 : 114 -8.

Bailey RW, Zucker KA, Flowers JL, Scovill WA, Graham SM, Imbembo AL. Laparoscopic cholecystectomy. Experience with 375 consecutive patients. Ann Surg 1991;214:531-40.

ฉวีวรรณ ธงชัย, และพิกุล นันทชัยพันธ์. แบบสำรวจความ คิดเห็นเก่ยวกับการใช้แนวปฏิบัติ. เชียงใหม่: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2547.

Melnyk, B.M., & Finout-Overhot, E. Evidence-base practice in nursing and health care. (2nded.).Philadelphia, PA: Wolters & Kluwer Health & Lippincott Willium & Wilkins. 2011.

ฉวีวรรณ ธงชัย. การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิก. วารสาร สภาการพยาบาล 2548;20(2),63-74.

ดาราณี พฤกษ์สรนันทน์. ผลของโปรแกรมการเตรียมความ พร้อมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดร่วมกับสุคนธบำบัด ต่อความ วิตกกังวลก่อนและระหว่างผ่าตัดแบบผ้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี. โครงการวิจัย เพื่อพัฒนา (Routine to Research : R2R). โรงพยาบาลชลบุรี. 2548.

มุกดา สำนวนกลาง. การเยี่ยมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด และติดตาม เยี่ยมหลังผ่าตัด.วารสารการพยาบาล 2536;(33):17-29.

จุรีพร บวรผดุงกิตติ. การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด Laparoscopic Cholecystectomy. ขอนแก่นเวชสาร2537;18(1):59-67.

สิรินยา พวงจำปา. การทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการใช้เทคนิคผ่อนคลายเพื่อบรรเทาอาการปวด เฉียบพลัน. วารสารสภาการพยาบาล 2551;23(3):40-48.

Michell M. Psychological care of patients undergoing elective surgery. Nursing Standard2007;21(30):48-55.

Shah JN. Early feeding and Discontinuation of intravenous fluid after Laparoscopic cholecys tectomy. J Nepal Health Research; 2012;10(12):28-31.

Nicole Biay.The effect of pre-admission education on domiciliary recovery followingLaparo scopic cholecystectomy. Australian Journal of Advance Nursing 2005;23(4):14-9.

Ali A. Ambulatory laparoscopic cholecystectomy: is it safe and cost effective .Minim Access surgery journal, 2009;5(1):8-13.

Raeder J. Anesthetic techniques for ambulatorysurgery. International Association of ambulatory surgery, Porto; 2006;185-209.

Wills VL. Pain after laparoscopic cholecystectomy.British Journal of surgery, 2000; 87(3):273-84.

กมลรัตน์ สุปัญญาบุตร. ผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพ หลังผ่าตัดต่อภาวะลำไส้หยุดการทางานชั่วคราวหลัง ผ่าตัดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดถุงนาดี.(วิทยานิพนธ์ปริญญา พยาบาลศาสตร์ มหาบัณฑิต). มหาสารคาม :มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ; 2553.

เสาวลักษณ์ ภูนวกุล นพรัตน์ เรืองศรี อรพรรณ มันตะรักษ์ และจารุภา คงรส. การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล ทางคลินิกสำหรับผู้ป่วยบาดเจ็บทางสมองที่ได้รับการ ผ่าตัดสมอง โรงพยาบาลพิจิตร. วารสารกรมการแพทย์ 2560;42(6):102-7

จิตรศิริ ตันติชาติกุล และวนิดา เคนทองดี. การพัฒนาแนว ปฏิบัติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ในการดูแลผู้ป่วย หย่าเครื่องช่วยหายใจ. วารสารกองการพยาบาล 2556;40(3): 56-69.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-19