การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง เพื่อชะลอไตเสื่อม แบบบูรณาการ โรงพยาบาลเรณูนคร อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม

ผู้แต่ง

  • พรพจน์ สารทอง

บทคัดย่อ

ความเป็นมา  : โรงพยาบาลเรณูนครเริ่มมีการจัดตั้งคลินิกชะลอไตเสื่อมในปี 2559 ในด้านระบบบริการยัง  ขาดรูปแบบใน การดาเนินงานท่ชัดเจนโดยเฉพาะผู้รับบริการมีพฤติกรรมดูแลตนเอง  ด้านการใช้ยา พฤติกรรมการบริโรคอาหาร  การออกกาลัง กายและสูบบุหรี่ไม่เหมาะสมกับโรคไตเรื่อรัง ส่งผลให้อัตราการกรองของไตลดลงอย่างรวดเร็วและทาให้เกิดปัญหาไตเสื่อมมากข้น

ัตถุประสงค : เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพื่อชะลอไตเสื่อม อำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม

วิธีการศึกษา : เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ กลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงเป็นผู้ป่วยเบาหวานหรือความดันโลหิตสูง จำนวน 55 คน ที่มีค่าระดับ eGFR ต่ำกว่า 60 มล./นาที ติดต่อกันนานเกิน 3 เดือน อายุ ไม่เกิน 65 ปีผู้ป่วยและครอบครัว มีส่วนร่วมในการตัดสินใจวางแผนปรับพฤติกรรมสุขภาพและติดตามผล ดาเนินงานระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 - มีนาคม พ.ศ. 2561 ในอำเภอเรณูนคร  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ภูเขา บอกระยะการทำงานของไต แบบประเมินพฤติกรรมการ บริโภคอาหารในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมสุขภาพ โดยแบ่งเป็น การดำเนินงาน 3 ระยะ ได้แก่ คือ1) ศึกษา สถานการณ์โรคไตเรื้อรังในพื้นที่อำเภอเรณูนคร  2) ร่างขั้นตอนการบริการและทดลองใช้  3) ประเมินผลจากค่าระดับทำงาน ของไตเมื่อครบ 6 เดือนและ 1 ปี และประเมินพฤติกรรมสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย

ผลการศึกษา : พบว่ากลุ่มตัวอย่าง จำนวน 55 คน ก่อนการพัฒนากลุ่มตัวอย่างมีระยะการทำงานของไตระยะ 3b มาก ที่สุด จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 43.6 รองลงมาคือระยะ  4, 3a และ5 ร้อยละ 41.8,10.9 และ 3.6 ตามลำดับ หลังการ พัฒนารูปแบบการดำเนินงานครบ  6 เดือน กลุ่มตัวอย่างมีระยะการทำงานของไตระยะ 2, 3a, 3b, 4 และ 5 จำนวน 5,4,17,27 และ 2 คนร้อยละ  9.1, 7.3, 30.9, 49.1 และ3.6 ตามลำดับ หลังจากติดตามผล 1 ปี กลุ่มตัวอย่างมีการทำงานของไต ระยะ  1, 2, 3a, 3b,4 และ 5 จำนวน 1, 5, 9, 14, 23 และ 3 คน ตามลำดับ ร้อยละ 1.8, 9.1, 16.4, 25.5, 41.8 และ 5.5 ตามลำดับ ด้านพฤติกรรมพบว่าด้านการใช้ยา ด้านการบริโภคอาหารโปรตีนและอาหารรสเค็ม มีค่าเฉลี่ย 2.6 เป็น 3.4 อยู่ใน ระดับด การมีกิจกรรมทางกายค่าเฉลี่ย 2.4 เป็น 2.8 อยู่ในระดับปานกลาง การสูบบุหร่ค่าเฉล่ย 3.9 เป็น 4.1 อยู่ในระดับดีมาก

สร : ผลการศึกษาคร้งน ทาให้การประเมินความเสี่ยงของภาวะไขมันในเลือดสูงความดันโลหิตและภาวะนาตาลในเลือดในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อโรคไตเรื้อรัง และผู้ป่วยควรตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ

 คำสำคัญ   : โรคไตเรื้อรัง ปัจจัยเสี่ยง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง

References

สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย, 2558. คำแนะนำสำหรับ การดูแลโรคไตเรื้อรังก่อนบำบัดทดแทนไต พ.ศ. 2558.

Singhal,PC.Kumar, A ,Desroches,L, et al. Prevalenence and predictors of rhabdomyolysis in patients with hypophosphatemia. Am J Med 1992 ; 92:458-64.

มณีรัตน์ จิรัปปภา. การชะลอไตเสื่อมจากวัยผู้ใหญ่ถึงวัย ผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา 2557; 20(2): 5-15

วรางคณา พิชัยวงศ์. โรคไตจากเบาหวาน. วารสารกรม การแพทย์ : 2558 ; 19-24.

ศิริอร สินธุ, และพิเชต วงรอต .การจัดการรายกรณีผู้ป่วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง.พิมพ์ คร้งท 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วัฒนาการพิมพ์ ; 2557.

พิมพ์สุภัค ปานเพียรกุลภัค ผลของโปรแกรมควบคุมอาหารสาหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้ออรังในคลินิกชะลอไตเสื่อม โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา.วารสารสมาคม เวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย ; 2559,6(3):205-215.

จินตนา หามาลี. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้ ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการ ชะลอความก้าวหน้าของโรคไตเรื้อรังในผู้สูงอายุโรค เบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีภาวะ เสี่ยงต่อการเกิดโรคไต เรื้อรัง. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ ; 2557,34 (2): 67-83.

สุนีรัตน์ สิงห์คำ. การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคไต เรื้อรังในชุมชน โดยการเสริมสร้างพลังภาคีเครือข่าย แบบมีส่วนร่วม.วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 2559 ; 13(3): 81-88.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-19