ปัจจัยที่สัมพันธ์และผลลัพธ์การตั้งครรภ์ในสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวานที่มาคลอด โรงพยาบาลมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • ศิริพร พรแสน
  • พร้อมจิตร ห่อนบุญเหิม
  • ชลธิลา ราชบุรี

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน และผลลัพธ์ในการตั้งครรภ์ของสตรี ตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวานที่มาคลอด โรงพยาบาลมหาสารคาม

วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง  โดยกลุ่มตัวอย่าง เป็นสตรีต้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวานที่มาคลอด ณ โรงพยาบาลมหาสารคาม  ในปี พ.ศ. 2557 - 2559 จำนวน 88 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและระบบบันทึกของโรงพยาบาล โดยใช้แบบบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการทดสอบไคสแควร์

ผลการศึกษา พบว่ากลุ่มตัวอย่างมี อายุระหว่าง 20-35 ปี สถานภาพสมรส ประกอบอาชีพเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นโรค เบาหวานชนิดท่พบเป็นครั้งแรกขณะตั้งครรภ์  เป็นครรภ์หลัง  ฝากครรภ์ครั้งแรกช้า ร้อยละ  46.9 ฝากครรภ์ไม่ครบเกณฑ์ คุณภาพร้อยละ 32.4 ทารกแรกเกิดน้ำหนักมาก ร้อยละ 13.6 คลอดก่อนกำหนด ร้อยละ 10.5 ผ่าตัดคลอด ร้อยละ 60.5 ชนิด ของโรคเบาหวานเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอายุครรภ์เมื่อคลอด และน้ำหนักของทารกแรกเกิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 (x2=7.740, p=.005) และ (x2=8.023, p=.005) ตามลำดับ และมีความสัมพันธ์กับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์  คุณภาพอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (x2=4.811, p=.028)

คำสำคัญ   : ผลลัพธ์การตั้งครรภ์, สตรีตั้งครรภ์, โรคเบาหวาน

References

WHO Programme to map best reproductive health practices. WHO Antenatal Care Randomized Trial: Manual for the Implementation of the New Model. Geneva. World Health Organization 2002. http://apps. who.int/iris/bitstream/handle/10665/42513/ WHO_RHR_01.30.pdf;jsessionid=A882A25CE34
F60FD4FE00474625CD20B?sequence=1

กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก สานักส่งเสริมสุขภาพกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก2557; 4-12. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์การสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก.

Simmons D. Diabetes and obesity in pregnancy.Best Practice & Research Clinical Obstetrics and Gynaecology 2011; 25: 25-36.

Hedderson MM, Darbinian JA, Quesenberry CP, Ferrara A. Pregravid cardiometabolic risk profile and risk for gestational diabetes mellitus. Gynecology 2011; 55: e1-e7.

Schneider S, Freerksen N, Röhrig S, Hoeft B, Maul H. Gestational diabetes and preeclampsia - Similar risk fac Pinto ME, Villena JE. Diabetic ketoacidosis during gestational diabetes. A case report. Diabetes Research and Clinical Practice 2011; 93: e92-e4.

Kaaja R. Vascular complications in diabetic pregnancy. Thrombosis Research 2011; 127: S53-S5.

ประเสริฐ ศันสนีย์วิทยกุล, นลัท สมภักดี. โรคเบาหวานขณะต้งครรภ์ในตาราสูติศาสตร์. Modern Textbook of Obstetrics 2560; 152-165 กรุงเทพฯ โรงพิมพ์ บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด.

Nolan CJ. Controversies in gestational diabetes.Best Practice & Research Clinical Obstetrics and Gynaecology 2011; 25: 31-49.

Marcinkevage JA, Narayan KV. Gestational diabetes mellitus: Taking it to heart. Primary Care Diabetes 2011; 5: 81-8

โรงพยาบาลมหาสารคาม.สถิติคลอด พ.ศ. 2557.เอกสารอัดสาเนางานห้องคลอด โรงพยาบาล มหาสารคาม, 2557.

โรงพยาบาลมหาสารคาม.สถิติคลอด พ.ศ. 2558.เอกสารอัดสาเนางานห้องคลอด โรงพยาบาล มหาสารคาม, 2558.

โรงพยาบาลมหาสารคาม.สถิติคลอด พ.ศ. 2559.เอกสารอัดสาเนางานห้องคลอด โรงพยาบาล มหาสารคาม, 2559.

Cunningham, F Gary Williams, Whitridge J (John Whitridge) 1866-1931. Williams obstetrics.
23rd ed c2010 ;United States New York : McGraw-Hill, Medical.

แนวทางเวชปฏิบัติสาหรับโรคเบาหวาน. Clinical Practice Guideline for Diabetes 2017: 1-111.

David MR. Diabetes in pregnancy. Best practice & Research clinical Obstetrics and Gynaecology 2015; 29: 685-699.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-20