การพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของพี่เลี้ยง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ผู้แต่ง

  • กฤษณา ภูพลผัน
  • นวลละออ แสงสุข
  • ชมสุภัค ครุฑกะ
  • บุญมี พันธ์ไทย

บทคัดย่อ

บทนำ : อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นบุคลากรที่สำคัญ จำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการเป็นแกนนำ โดยเฉพาะเป็นพี่เลี้ยงอาสาสมัคร การเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่เข้มแข็งขึ้น

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาและพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเสริมสร้างสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานของพี่เลี้ยงอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประเมินผลหลังการใช้โปรแกรมฝึกอบรมสมรรถนะ การปฏิบัติงานของพี่เลี้ยงอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่พัฒนา

วิธีดำเนินการศึกษา : เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง คือ หัวหน้าอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ที่มีประสบการณ์ปฏิบัติงานบทบาทหน้าที่ไม่น้อยกว่า 5 ปี จำนวน 93 คน และคัดเลือก จำนวน 30 คน ศึกษาในระหว่าง เดือนมกราคม พ.ศ. 2561 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ แบบ Paired-Samples t- test

ผลการศึกษา :  ผลการศึกษาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของพี่เลี้ยงอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการสมรรถนะด้านการเป็นผู้นำ ด้านการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ สมรรถนะด้านความเหมาะสมของแต่ละองค์ประกอบ โครงร่างโปรแกรมฝึกอบรมตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3.60-4.80 และความสอดคล้องของโครงร่างโปรแกรมฝึกอบรม มีค่าดัชนีความสอดคล้อง ตั้งแต่ 0.60-1.00 ความเห็นผู้เชี่ยวชาญในโครงร่างโปรแกรมทุกองค์ประกอบของการฝึกอบรมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด และมีความสอดคล้องกัน โดยผลการประเมิน เปรียบเทียบสมรรถนะในการปฏิบัติงานของพี่เลี้ยงอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ทั้ง 3 ด้าน ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ด้านสมรรถนะมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและความพึงพอใจในระดับมาก

คำสำคัญ : พี่เลี้ยงอาสาสมัครสาธารณสุข, สมรรถนะ, โปรแกรมการฝึกอบรม

References

ชูชัย สมิทธิไกร. การสรรหา คัดเลือก และการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2552.

Marquis, B. L., & Huston, C. J. ). Leadership roles and management function in nursing. Theory and application. 5th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2006.

อาภรณ์ ภู่วิทยาพันธุ์. Competency-based Training Road Map (TRM). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เอช อาร์เซ็นเตอร์จำกัด; 2555.

สุปราณี ยมพุก.สมรรถนะของผู้บริหารโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน; 2554.

ปริทัศน์ เจริญช่าง, สุวัฒนา เกิดม่วง และสุรินธร กลัมพากร. สมรรถนะวิชาชีพการสาธารณสุขของนักวิชาการสาธารณสุข ที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิไทย. ว.พยาบาลกระทรวงสาธารณสุข.2557; 26(1): 40-51.

Wakahiu, J. Mentoring: A model for cultivating leadership competencies in Kenyan women religious. Advancing Women in Leadership. ( 33):132-141. 2011.

พิชญากร ศรีปะโค. การพัฒนาวิชาชีพพยาบาล: การพัฒนาภาวะผู้นำทางการพยาบาล. ว.พยาบาลทหารบก. 2557; 15(3), 1-8.

รัตติกรณ์ จงวิศาล. ภาวะผู้นำ ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2559.

Skarbaliene, A. K. The correlations between mentor’s leadership competencies and the functions performance by the mentor. European Scientific Journal, 2016;12(8), 1-13.

World Health Organization. Strengthening a competent health workforce for the provision of coordinated/integrated health services. Denmark: WHO Regional Office for Europe; 2015.

Malcarney, Mary-Beth., Pittman, P., Quigley, L., Horton, K., & Seiler, N. The Changing Roles of Community Health Workers. Health Service Research, 2017. 52(Suppl 1), 360-382.

ประจักษ์ กึกก้อง. สมรรถนะด้านการสื่อสารสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น. ว.สักทอง มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 21(2) 2558; 187-197.

Knowles, M. S., Holton, E. F., III., & Swanson, R. A. The adult learner: The definitive classic in adult education and human resource development. 7th ed. Amsterdam, The Netherlands: Elsevier. 2011.

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. มารู้จัก Competency กันเถอะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: เอช อาร์เซ็นเตอร์จำกัด; 2550.

สมคิด บางโม. องค์การและการจัดการ: Organization and management. พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร: วิทยพัฒน์การพิมพ์; 2553.

จำเนียร จวงตระกูล. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพ-มหานคร: ศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์เนชั่นแนล; 2553.

Blanchard, P. N., & Thacker, J. W. Effective training: Systems, strategies, and practices. 3rd ed. Upper Saddle River, NJ: Pearson/Prentice-Hall; 2007.

ดวงกมล สินเพ็ง. การพัฒนาผู้เรียนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้:การจัดการเรียนการสอน ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง:กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2 (ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ : บริษัท วี. พริ้นท์ (1991) จำกัด; 2553.

ทิศนา แขมมณี. รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย่ . กรุงเทพ ฯ : แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2552.

ชูชัย สมิทธิไกร. การฝกอบรมบุคลากรในองคการ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย; 2551.

ชาญ สวัสดิ์สาลี. คู่มือการประเมินและติดตามผลการฝึกอบรมสำหรับผู้รับผิดชอบโครงการฝึกอบรม สัมมนา. กรุงเทพมหานคร: สวัสดิการสำนักงาน ก.พ; 2551.

พรกุล สุขสด. การพัฒนาชุดฝึกอบรมสมรรถนะการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์), มหาวิทยาลัยรามคำแหง; 2556.

ยุพิน หงส์วะชิน, อำนวย ปาอ้าย, เพ็ญนภา กุลนภาดล และ วรางค์ภรณ์ ไตรติลานันท์. การพัฒนาสมรรถนะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตชุมชน. ว.พยาบาลตำรวจ, 2556. 5(2), 1-13.

Knette, B. K., Slifko, S. E., Inman, A. G., & Silova, I. Training community health workers: an evaluation of effectiveness, sustainable continuity, and cultural humility in an educational program in rural Haiti.International Journal of Health Promotion and Education, 2017. 55(4), 177-188.

ขวัญใจ จิรัฐจินดา. รูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะหลักสำหรับบุคลากรสาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2557.

สุดามณี บุญจรัส. ประสิทธิผลของโปรแกรมการเรียนรู้เรื่องการตรวจคัดกรองสุขภาพ สำหรับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านหนองแกตำบลจระแม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. ว.วิชาการเฉลิมกาญจนา. 1(3). 2557. 78-86.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-23