ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้ป่วยสูงอายุที่รับการรักษาในแผนก จิตเวชโรงพยาบาลมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • ชมนาด ศิริรัตน์

คำสำคัญ:

ผู้สูงอาย, ภาวะสมองเสื่อม, ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อม

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์การวิจัย : เพื่อศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อม ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อม และอาการ BPSD ที่พบได้ในผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมที่มารับการรักษาในแผนกจิตเวชโรงพยาบาลมหาสารคาม

วิธีดำเนินการศึกษา : เป็นการศึกษาแบบ Cross-sectional analytical study รวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วยอายุ 60 ปีขึ้นไปที่ได้รับการตรวจประเมิน Version 2002 (MMSE-T2002) ในปีพ.ศ.2561 จำนวน 176 ราย วิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา และศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมด้วยสถิติ Chi-square test และ Binary logistic regression

ผลการศึกษา : ความชุกของภาวะสมองเสื ่อมในผู้ป่วยสูงอายุของแผนกจิตเวชโรงพยาบาลมหาสารคาม ร้อยละ 15.8 โดยปัจจัยที ่มีความสัมพันธ์กับภาวะสมองเสื ่อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  (p<0.05) ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง พบอาการ BPSD ร่วมด้วยร้อยละ 67.7

สรุป : ภาวะสมองเสื่อมในแผนกจิตเวชโรงพยาบาลมหาสารคาม มีความชุกสูงกว่าในกลุ่มประชากรสูงอายุทั่วไป โดยกลุ่มที ่มีปัจจัยที ่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื ่อม ได้แก่ โรคไขมันในเลือดสูง จึงควรมีการคัดกรองภาวะสมองเสื ่อมในผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าว ส่วนผู้ป่วยที่สงสัยหรือได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะสมองเสื่อมควรซักประวัติเรื่อง BPSD ร่วมด้วยเสมอ

References

Alzheimer’s Disease International. The World Alzheimer Report 2015, The Global Impact of Dementia [Internet]. London: Alzheimer’s Disease International ; 2015 [cited 2015 Aug]. Available from: URL:https://www.alz.co.uk/research/WorldAlzheimerReport2015.pdf

Alzheimer’s Disease International. Dementia in the Asia Pacific region [Internet]. London: Alzheimer’s Disease International ; 2014 [cited 2016 Nov]. Available from: URL:http://www.Dementia-Asia-Pacific-2014.pdf

Senanarong V, Jamjumrus P, Harnphadungkit K, Vannasaeng S, Udompunthurak S, Prayoonwiwat N, et al. Risk factors for dementia and impaired cognitive status in Thai elderly. Journal of the medical association of Thailand, 2001 ; 84(4) : 468-474.

Jitapunkul S, Kunanusont C, Phoolcharoen W, Suriyawongpaisal P. Prevalence estimation of dementia among Thai elderly: a national survey. Journal of the medical association of Thailand, 2001 ; 84(4) : 461-467.

สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ; กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข. แบบทดสอบสภาพสมองเสื่อมเบื้องต้นฉบับภาษาไทย(MMSE-Thai) 2002. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข; 2545.

สายสุนีย์ เลิศกระโทก, สุธรรม นันทมงคลชัย, ศุภชัย ปิติกุลตัง. ความชุกของภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลอรพิมพ์ อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา. วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 2556 ; 43(1) : 42-52.

เพชรรัตน์ พิบาลวงค์, จตุพร จันทะพฤกษ์, ภาวิณี แพงสุข, ปิยนุช ภิญโญ, ภควรรณ ตลอดพงษ์, นิสากร เห็มชนาน. การศึกษาสถานการณ์ภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์, 2561 ; 8(2) : 46-57.

Limpawattana P, Tiamkao S, Sawanyawisuth K, Thinkhamrop B. Can Rowland Universal Dementia Assessment Scale (RUDAS) Replace Mini-Mental State Examination (MMSE) for Dementia Screening in a Thai Geriatric Outpatient Setting?. American Journal of Alzheimer’s
Disease & Other Dementias, 2012 ; 27(4) : 254-259.

Alzheimer’s Disease International. World Alzheimer Report 2009 Prevalence and overview [Internet]. London: Alzheimer’s Disease International; 2009 [cited 2009]. Available from: URL:http://www.alz.co.uk/research/worldreport-2009.pdf.

Australian Institute of Health and Welfare. Dementia in Australia [Internet]. Auatralia: Australian Institute of Health and Welfare; 2012 [cited 2012 Sep 27]. Available from: URL:https://www.aihw.gov.au/reports-data/health-conditions-disability-deaths/dementia/overview.

World Health Organization. Neurological disorders: Public health challenges [Internet]. Geneva: World Health Organization; 2006 [cited 2006]. Available from: URL:http://www.who.int/mental_health/neurology/neurodiso/en.

Seeher K, Withall A, Brodaty H. The dementia research mapping project - the 2010 update: final report. Sydney: Dementia Collaborative Research Centre, University of New South Wales ; 2011.

Muangpaisan W. Dementia : Prevention, assessment and care. Bangkok: Parbpim; 2016

วิชัย เอกพลากร. รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552. กรุงเทพมหานคร: เดอะกราฟิก ซิสเต็มส์ ; 2551.

O’Brien J. Behavioral symptoms in vascular cognitive impairment and vascular dementia. International psychogeriatrics , 2003 ; 15 : 133–138.

Purandare N, NHP A, Burns A. Behavioural and psychological symptoms of dementia. Journal of Clinical Gerontology, 2000 ; 3 : 245–260.

Taemeeyapradit U, Udomittipong D, Tepparak N. Characteristics of Behavioral and Psychological Symptoms of Dementia , Severity and Levels of Distress on Caregivers. Journal of the medical association of Thailand, 2014 ; 97(4) : 423.

Chiang CJ, Yip PK, Wu SC, Lu CS, Liou CW, Liu HC et al. Midlife risk factors for subtypes of dementia: a nested case-control study in Taiwan. Am J Geriatr Psychiatry 2007 ; 15(9) : 762-771.

Anstey KJ, Mack HA, Cherbuin N. Alcohol consumption as a risk factor for dementia and cognitive decline: meta-analysis of prospective studies. Am J Geriatr Psychiatry
2009 ; 17(7) : 542–555.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-10-14