ภาวะลิ้นหัวใจเทียมมีลิ่มเลือดอุดตัน : การวินิจฉัยและการรักษาในผู้ป่วยโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
คำสำคัญ:
ลิ้นหัวใจติด, ลิ้นหัวใจที่มีลิ่มเลือดอุดตันบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาภาวะลิ้นหัวใจเทียมเกิดลิ่มเลือดอุดตัน ทั้งการวินิจฉัย การรักษา และผลการรักษา
รูปแบบและวิธีวิจัย : โดยการทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยภาวะลิ้นหัวใจเกิดลิ่มเลือดอุดตัน โดยเก็บข้อมูลลักษณะทั่วไปและสังคมประชากรของผู้ป่วยอาการ อาการแสดง ความรุนแรงของอาการ ตำแหน่ง ลิ้นหัวใจที่ติด วิธีการวินิจฉัย วิธีการรักษา ผลการรักษา และภาวะแทรกซ้อนของการรักษา
ผลการศึกษา : พบผู้ป่วย 14 ราย ในช่วงเวลารวบรวมข้อมูล โดยการวินิจฉัยได้จาก -Thoracic Echocardiography 7 ราย และจาก Echocardiography ร่วมกับ Cine-Fluoroscopy 7 ราย ทุกรายเกิดใน ตำแหน่ง Mitral ได้รับการรักษาด้วย fibinolytic Agent 12 ราย ผ่าตัด 2 ราย โดยผลการรักษาพบว่า กลุ่ม ผ่าตัด 2 รายได้ผลดี กลุ่มได้ fibinolytic ได้ผลดี 9 ราย เสียชีวิต 2 ราย จากภาวะลิ่มเลือดอุดตันเส้นเลือดสมอง และหัวใจวายและจำเป็นต้องผ่าตัดเพิ่มเติม 1 ราย
สรุปผลการศึกษา : การวินิจฉัยภาวะลิ้นหัวใจติดทำได้โดย Echocardiography แต่ในรายที่การวินิจฉัยทำได้ยาก จึงใช้ Cine-Fluoroscopy มาช่วยวินิจฉัย ส่วนการรักษาการผ่าตัดจะได้ผลดีแต่ในภาวะที่การผ่าตัดทำได้ยาก fibinolytic Treatment ก็เป็นทางเลือกในการรักษา
References
Raym and Rodaut, Karim s, Stephane L : Thrombosis of Prosthetic Heart Valve : Diagnosis and Theupeutic Considerations, Heart. 2007 ; 93 : 137 – 142.
R. Roudaut, Thienry L, Marie – Frencoise L : Mechanical Cardiac Valve Thrombosis Is Fibrinolynis Justified ? : Circulotion. 1992 ; 80 No.5 : 8 - 15.
R. Roudaut, Stephane L, Marie – Frencoise R : Fibrinolysis of Mechanical Prosthetic Valve Thrombosis : Journal of The American College of Cardiology. 2003 ; 41 No.4, 653 - 658
Bonow RO, Carabello B, De Leon AC, et al. Guideline for The management of patients with Valvular Heart disease. Circulation. 1998; 98 1949 - 84.
Devivi E, Sareli P, Wisonbaush T, et al. Obstruction of mechanical heart valve prostheses : Clinical aspects and Surgical management. J Am Coll Cardial. 1991 ; 17 : 646 - 50.
Lengyel M, Fuster V, Keltui M, et al. Guidelines for management of Left – sided Prosthetic Valve Thrombosis : a role for Thrombolytic Thesoupy. J A Coll Cardiol. 1997 ; 30 : 1521 - 6.
Lengyel M, Vondor L. The role of Thrombolysis in The management of Left – sided Prosthetic Valve Thrombosis : a study of 85 cases diagnosed by Tronsesophogeal Echocardiography. J Heart Valve Dis. 2001 ; 10 : 636 - 49.
Oupta D, Kothara SS, Bal VK, et al. Thrombolytic Therapy for Prosthotic Valve Thrombosis : Short – and Long – term results. Am Heart J. 2000 ; 140 : 906 - 16.
Rick A, Nishimura, Cutherine M, Otto, Rubert O. Bonour, et al. : 2017 AHA/ACC Focused Update of the 2014 AHA/ACC Guide line for the Management of Patients With Valvular Heart Disease. Circulation. 2017 ; 135 : e1159 - e 1195
Ozkon M, Gundus S, Gursog OM, et al. Ultrastow Thrombolytic Therapy : a novel strategy in the management of Prosthetic M Echorical valve thrombosis and the predictors of out come : The Ultra – Slow PROMETEE trial Am Heart J. 2015 ; 170 : 409 – 18.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลมหาสารคาม