การศึกษาคุณภาพชีวิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมีย ในโรงพยาบาลหนองคาย
คำสำคัญ:
โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย, ผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมีย, โรงพยาบาลหนองคาย, คุณภาพชีวิต, ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเด็กธาลัสซีเมียในโรงพยาบาลหนองคาย
วัสดุและวิธีการ : รูปแบบการทำวิจัยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงวิเคราะห์โดยผู้ป่วยและผู้ปกครองตอบแบบสอบถาม PedsQL ที่แปลเป็นภาษาไทย จำนวนรวม 66 ราย โดยประกอบด้วยผู้ป่วย 33 ราย และผู้ปกครอง 33 ราย
ผลการศึกษา : จากการตอบแบบสอบถามของทั้งผู้ป่วยและผู้ปกครองพบว่าของผู้ป่วยมีคะแนนเฉลี่ยปัจจัยด้านสังคมสูงที่สุด ตามมาด้วยปัจจัยด้านโรงเรียน ปัจจัยด้านร่างกาย และปัจจัยด้านอารมณ์ตามลำดับ ในขณะที่ปัจจัยด้านต่างๆ ของผู้ปกครองพบว่าปัจจัยด้านร่างกายมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ตามมาด้วยปัจจัยด้านสังคม ปัจจัยด้านอารมณ์ และปัจจัยด้านโรงเรียนตามลำดับ
คุณภาพชีวิตในด้านต่าง ๆ ทั้งต่อตัวผู้ป่วยเองและต่อผู้ปกครองเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับเพศ, อายุ, การเจริญเติบโต, ระดับชั้นการศึกษาของผู้ป่วย, ความเพียงพอของรายได้ของผู้ปกครอง ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาอื่นๆ พบว่าสอดคล้องกัน
สรุปผลการศึกษา : การศึกษานี้พบว่าคะแนนคุณภาพชีวิตด้านต่างๆ อยู่ในเกณฑ์ที่สอดคล้องกับการศึกษาก่อนหน้า และพบว่าไม่มีปัจจัยใดที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของทั้งผู้ป่วยและผู้ปกครอง
References
Paskorn Sritipsukho, Jureebhorn Poomsitong. Health-related quality of life in children with chronic diseases at Thammasat University Hospital. J Med Assoc Thail Chotmaihet Thangphaet. 2012 Jan;95 Suppl 1:S8-12.
Depression and Thalassemia in Children Adolescents and Adults | PDF | Major Depressive Disorder | Adolescence [Internet]. Scribd. [cited 2022 Jul 1]. Available from: https://www.scribd.com/document/367175270/Depression-and-Thalassemia-in-Children-Adolescents-and-Adults
Nonita Dhirar, Jyoti Khandekar, Damodar Bachani, Deonath Mahto. Thalassemia Major: how do we improve quality of life? SpringerPlus. 2016 Dec;5(1):1895.
พชรพรรณ สาริสุต. คุณภาพชีวิตและความชุกของภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเด็กโรคธาลัสซีเมีย ในศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. 2019;49(2):200–9.
Nonglak Boonchooduang, Orawan Louthrenoo, Worawut Choeyprasert, Pimlak Charoenkwan. Health-Related Quality of Life in Adolescents with Thalassemia. Pediatr Hematol Oncol. 2015 Jul 4;32(5):341–8.
Venty Venty, Rismarini Rismarini, Dian Puspitasari, Yudianita Kesuma, Raden Muhammad Indra. Depression in children with thalassemia major: prevalence and contributing factors. Paediatr Indones. 2018 Nov 22;58(6):263–8.
สารภี ด้วงชู, มาลัย ว่องชาญชัยเลิศ, สุดารัตน์ คชวรรณ. คุณภาพชีวิตของผู้ป่ยเด็กโรคธาลัสซีเมียที่ต้องรับเลือดประจำที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. วารสารสงขลานครินทร์. 2014 Dec 1;32(6):353–63.
ธิดารัตน์ พันธุ์แก้ว. คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยธาลัสซีเมียในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าที่ได้รับยาขับเหล็กชนิดรับประทาน : Deferiprone. R Thai Army Med J. 2009;139–48.
ภูผา วงศ์รัศมีเดือน. คุณภาพชีวิตของเด็กธาลัสซีเมียชนิดเบต้าและผู้ดูแลที่มารับบริการที่โรงพยาบาลน้ำโสม. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี. 2020 Dec 30;28(3):326–35.
พชรพรรณ สาริสุต. คุณภาพชีวิตและความชุกของภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเด็กโรคธาลัสซีเมียในศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. 2562;49(2):200–9.
Phakatip Sinlapamongkolkul, Surapolchai P. Health-Related Quality of Life in Thai Children with Thalassemia as Evaluated by PedsQL and EQ-5D-Y: A Single-Center Experience. Mediterr J Hematol Infect Dis. 2020 Jul 1;12(1):e2020036.
กิตติ ต่อจรัส. คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในผู้ป่วยธาลัสซีเมีย. วารสารเวชสารแพทย์ทหารบก. 2551;61(2):101–6.
Ismail, I., Haron, H., Ibrahim, D.N., & Isa, S.M. (2006).Service quality, client satisfaction and loyalty towards auditfirms: Perceptions of Malaysian Public Listed Companies.
Managerial Auditing Journal, 21, 738-756.
Wah Cheuk, Hunter K. L. Yuen, Stephenie Y. Y. Chu, Edmond K. W. Chiu, L. K. Lam, John K. C. Chan. Lymphadenopathy of IgG4-related Sclerosing Disease. Am J Surg Pathol. 2008 May;32(5):671–81.
James Clarke, Hai-Chen Wu, Lakmal Jayasinghe, Alpesh Patel, Stuart Reid, Hagan Bayley. Continuous base identification for single-molecule nanopore DNA sequencing. Nat Nanotechnol. 2009 Apr;4(4):265–70.
Montarat Thavorncharoensap, Yot Teerawattananon, Jomkwan Yothasamut, Chanida Lertpitakpong, Khannika Thitiboonsuwan, Prapag Neramitpitagkul, et al. The economic costs of alcohol consumption in Thailand, 2006. BMC Public Health. 2010 Dec;10(1):323.
Surapolchai P, Satayasai W, Sinlapamongkolkul P, Udomsubpayakul U: Biopsychosocial predictors of health-related quality of life in children with thalassemia in Thammasat University Hospital. J Med Assoc Thai 2010, 93(Suppl 7):65–75
Huda Gharaibeh, Linda Haddad, Sukaina Alzyoud, Omar El-Shahawy, Nesrin Abu Baker, Mary Umlauf. Knowledge, Attitudes, and Behavior in Avoiding Secondhand Smoke Exposure Among Non-Smoking Employed Women with Higher Education in Jordan. Int J Environ Res Public Health. 2011 Nov 9;8(11):4207–19.
Giovanni Caocci, Adriana Vacca, Antonio Ledda, Francesca Murgia, Eugenia Piras, Greco M, et al. Prophylactic and Preemptive Therapy with Dasatinib after Hematopoietic Stem Cell Transplantation for Philadelphia Chromosome-Positive Acute Lymphoblastic Leukemia. Biol Blood Marrow Transplant. 2012 Apr;18(4):652–4.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลมหาสารคาม