การพัฒนาชุดนวัตกรรมต้นแบบสำหรับส่งเสริมการบริโภคโปรตีนในปริมาณที่เหมาะสม ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ล้างไตทางช่องท้องและฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

ผู้แต่ง

  • อนุชา ไทยวงษ์ Srimahasarakham nursing college, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute
  • กัญญาพัชร บัณฑิตถาวร
  • ดิษฐพล ใจซื่อ
  • กชพร พงษ์แต้
  • เฉลิมพล ก๋าใจ
  • ฐิติพร วิชัยวงษ์
  • วิทย์วุฒิ จันทร์กระแจะ

คำสำคัญ:

ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง, นวัตกรรมต้นแบบสำหรับส่งเสริมการบริโภคโปรตีน

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : 1) เพื่อพัฒนาชุดนวัตกรรมต้นแบบสำหรับส่งเสริมการบริโภคโปรตีนในปริมาณที่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ล้างไตทางช่องท้องและฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม 2) เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของชุดนวัตกรรมต้นแบบ และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้ชุดนวัตกรรมต้นแบบ

รูปแบบและวิธีวิจัย : การศึกษานี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and development: R&D) กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 12 ราย โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบประเมินประสิทธิภาพของนวัตกรรม และแบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษา : ผลการศึกษาพบว่านวัตกรรม “ชุดนวัตกรรมกินอย่างไรไม่ขาดโปรตีน” ประกอบด้วย     1)นวัตกรรมช่วยคำนวณโปรตีนตามน้ำ หนักตัว 2) คู่มือการให้ความรู้ “กินอย่างไรไม่ขาดโปรตีน” 3) แบบวัดความรู้เกี่ยวกับโปรตีนในอาหาร 4) โมเดลอาหาร และ 5)แบบวัดทักษะการตัดสินใจเลือกอาหา ร โดยพบว่าประสิทธิภาพของชุดนวัตกรรมต้นแบบมีความคงทน (Mean = 4.53± 0.5) ความแข็งแรง (Mean = 3.93 ± 0.67) ความสวยงาม (Mean = 4.68 ± 0.23) และความสะดวกต่อการใช้งาน (Mean =  4.73 ± 0.26) ในระดับดี และ พยาบาลวิชาชีพมีความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมในระดับดีมาก

สรุปผลการศึกษา : ชุดนวัตกรรมต้นแบบสำหรับส่งเสริมการบริโภคโปรตีนในปริมาณที่เหมาะสมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ล้างไตทางช่องท้องและฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมนี้ มีประสิทธิภาพในการใช้งาน เป็นประโยชน์ต่อการดูแลผู้ป่วย ควรนำไปทดลองใช้จริงเพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนกับผู้ป่วยต่อไป

References

National Kidney Foundation. KDOQI clinical practice guideline for diabetes and CKD: 2012 update. American Journal of Kidney Diseases. 2012;60(5):850-86.

Nephrology Society of Thailand. Clinical practice recommendation for the evaluation and management of chronic kidney disease in adults Bangkok2015.

National Kidney Foundation. KDIGO 2012 clinical practice guideline for the evaluation and management of chronic kidney disease. Journal Kidney International Supplement. 2013;3(1):1-150.

Kalantar-Zadeh K, Ficociello LH, Bazzanella J, Mullon C, Anger MS. Slipping through the pores: hypoalbuminemia and albumin loss during hemodialysis. International journal of nephrology renovascular disease. 2021;14:11-21.

รวีวรรณ รัตนเรือง, วรรณภา ประไพพานิช, พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์, สุขฤทัย เลขยานนท์. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารเน้นโปรตีนในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. รามาธิบดีพยาบาลสาร. 2557;20(3):341-55.

Sahathevan S, Khor B-H, Ng H-M, Abdul Gafor AH, Mat Daud ZA, Mafra D, et al. Understanding development of malnutrition in hemodialysis patients: a narrative review. Nutrients. 2020;12(10):1-31.

Elboraey MA, Ibtihal I, Ehab E, Mona T. Appetite Disorder in Hemodialysis Patients and its Impact on Dietary Intake: A Cross-sectional study. Mansoura Medical Journal. 2021;50(2):15-26.

ปิ่นแก้ว กล้ายประยงค์. ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการสร้างเสริมพฤติกรรมการปฏิบัติตัวเพื่อชะลอการเสื่อมของไตสู่ภาวะโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 และ 4 ที่แผนกผู้ป่วยนอก อายุรกรรมโรคไตโรงพยาบาลรามาธิบดี [วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2551.

วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม. รายงานสรุปการวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ในคลินิกเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคโปรตีนในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังทุกระยะ. มหาสารคาม; 2563.

Nagy E, Mahmoud M, El‐kannishy G, Sayed‐Ahmed N. Impact of malnutrition on health‐related quality of life in patients on maintenance hemodialysis. Therapeutic Apheresis Dialysis. 2021;25(4):467-74.

อนุชา ไทยวงษ์, กัญญาพัชร เบ้าทอง, กานต์รวี โบราณมูล, มลฤดี แสนจันทร์, วัชราภรณ์ ศรีโสภา. นวัตกรรมทางการพยาบาลในการสนับสนุนและส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่ได้รับรังสีรักษา. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. 2018;15(3):159-68.

อนุชา ไทยวงษ์. รายงานสรุปผลการพัฒนานวัตกรรมการคำนวณโปตีนตามน้ำหนักตัวสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังทุกระยะ. มหาสารคาม: วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม, วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม; 2561.

สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. คำแนะนำแนวทางเวชปฏิบัติโภชนบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคไตในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2561. 2561.

ศศิพิมพ์ ไพโรจน์กิตระกูล, ธีรนุช ห้านิรัติศัย, ศุภชัย ฐิติอาชากุล. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลร่วมกันต่อการดูแลร่วมกันของผู้ป่วยและครอบครัว ภาวะโภชนาการ และการติดเชื้อที่แผลช่องสายออกในผู้ป่วยล้างไตทางหน้าท้องแบบต่อเนื่อง. รามาธิบดีพยาบาลสาร. 2557;20(3):325-40.

Turner RC, Carlson L. Indexes of item-objective congruence for multidimensional items. International Journal of Testing. 2003;3(2):163-71.

พีรนุช ลาเซอร์, พิมผกา ปัญโญใหญ่. นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชน. พยาบาลทหารบก. 2564;22(2):31-40.

Bandura A. Self-efficacy: toward a unifying theory of behavioral change. Journal Psychological Review. 1977;84(2):191-215.

ศิริลักษณ์ น้อยปาน, เพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์, วิภาวี คงอินทร์. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุที่รักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องแบบต่อเนื่อง [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2551.

Su CY, Lu XH, Chen W, Wang T. Promoting self‐management improves the health status of patients having peritoneal dialysis. Journal of advanced nursing. 2009;65(7):1381-9.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27