ปัญหาทางการพยาบาลในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4: กรณีศึกษา

ผู้แต่ง

  • เกตุนรินทร์ บุญคล้าย -
  • กนกวรรณ เวทศิลป์
  • วรรณชาติ ตาเลิศ
  • อนุศร การะเกษ
  • พิชญาณัฏฐ์ แก้วอำไพ

คำสำคัญ:

โรคไตเรื้อรัง, ปัญหาการพยาบาล, โรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาปัญหาทางการพยาบาลในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-4

รูปแบบและวิธีวิจัย : ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง  เลือกกรณีศึกษาเฉพาะเจาะจงที่เป็นโรคไตเรื้อรัง ที่มีภาวะแทรกซ้อน ในโรงพยาบาลศูนย์  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แบบรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียน และแบบสัมภาษณ์ผู้ป่วย 

ผลการศึกษา : ปัญหาทางการพยาบาลที่พบ 3 ปัญหาคือ 1) มีความไม่สมดุลของน้ำและเกลือแร่เพราะไตเสียหน้าที่ 2) การขาดประสิทธิภาพในการดูแลตนเอง ตามข้อกำหนดการรักษา เนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับการกำจัดสารอาหาร และการรับประทานยา 3) ส่งเสริมความพร้อมที่จะปรับพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะที่ 3-4

สรุปผลการศึกษา : พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการให้ข้อมูล และแนวทางการปฏิบัติตนของผู้ป่วย รวมทั้งสามารถเสริมสร้างพลังอำนาจให้ผู้ป่วย มีโอกาสซักถามข้อข้องใจจนเกิดความกระจ่าง ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม ชะลอการลดลงของอัตราการกรองของไต ลดการเข้าสู่โรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย

References

Hill NR, Fatoba ST, Oke JL, Hirst JA, O’ Callaghan CA, Lasserson DS, et al. Global Prevention of chronic kidney disease – A systematic review and meta analysis. PloS one. 2016;11(7): e0158765.

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ: สปสช.คำแนะนาสำหรับการดูแลรักษาโรคไตเรื้อรังแบบองค์รวมชนิดประคับประคอง พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: เท็กซ์แอนด์เจอร์นัล พับลิเคชั่น.

Ingsathit A , Thakkinstian A, Chaiprasert A, Sangthawan P, Gojaseni P, Kiattisunthorn K, et al.Thai-SEEK Group. Prevalence and risk factors of chronic kidney disease in the Thai adult population: Thai SEEK study. Nephrology Dialysis Transpllant. 2010;25(5): 1567-75.

Vassalotti S, Mc Cullough , Bakris G. Kidney early evaluation program:a community-based screening approach to address disparities in chronic kidney disease. Seminars in nephrology.2010;30(1):66-73.

จุฑามาศ เทียนสอาด สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรมและนพวรรณ พินิจขจรเดช.การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าจ่าย กับคุณภาพ ชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม.รามาธิบดีพยาบาลสาร 2560; 23(1): 60-77.

Mishel MH. Uncertainty in Chronic Illness. Annual Review Of Nursing Research.

;17:.269-295.

Feinberg J, Nielsen E , Korang S ,Engell K. et all. Nutrition support in hospitalised adults at nutritional risk. The Cochrane database of systematic reviews. 2017;5: CD011598.

Santos, E., Dias, R., Lima, J., Salgado Filho, N., & Miranda Dos Santos, A. Erythropoietin Resistance in Patients with Chronic Kidney Disease: Current Perspectives. International journal of nephrology and renovascular disease.2020;13: 231–237.

Chartsrisak K, Vipattanat K, Assanatham M, Nongnuch A, Ingsathit A, Domrongkitchaiporn S, et al .Mineral metabolism and outcome in chronic kidney disease stage 2-4 patients. BMC Nephrol.2013;14:14.

O’Seaghdha CM, Hwang SJ, Muntner P, Melamed ML, Fox CS. Serum phosphorus predicts incident chronic kidney disease and end-stage renal disease. Nephrol Dial Transplant.2011; 26(9):2885-90.

Kidney Disease Improving Global Outcome KDIGO 2012 clinical practice guideline for the evaluation and management of chronic kidney disease. Kidney Int Suppo.2013;3(1):1-150.

Corciulo R & Corciulo S. The peritoneal ultrafiltration in patients with cardio-renal disease. Giornale Italiano di Nefrologia: Organo Ufficiale Della Societa Italiana di Nefrologia. 2017; 34 (69): 86-103.

เพ็ญพร ทวีบุตร พัชราพร เกิดมงคลและขวัญใจ อำนาจซื่อสัตย์.ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้น.วารสารพยาบาลสาธารณสุข.2560;31(1):129-145.

Tangkiatkumiaj M, Walker DM, Praditpornsolpa K, Boardman H. Association between medication adherence and clinical outcomes in patients with chronic kidney disease: a prospective cohort study. Clin Exp Nephrol.2017;21(3):504-12.

Satraipoj B, Supasyndh O, Mayteedol N, Chaiprasert A, Choovichian P. Metabolic syndrome and its relation to chronic kidney disease in a Southeast Asian population. Southeast Asian J Trop Med Public Health.2011;42(1):176-83.

วินัย ลีสมิทธิ์ สุชาณี สุวัฒนารักษ์ สุชัญญา พรหมนิ่มและศุภสิทธิ์ พรรณนารุโณทัย.การศึกษาเพื่อชะลอไต เสื่อมสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง โรงพยาบาลคลองขลุง: จากงานวิจัยสู่การปฏิบัติ.วารสารวิชาการ สาธารณสุข.2560;26(1):111-124.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-24