ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการดำเนินงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) จังหวัดบึงกาฬ
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง, แรงจูงใจ, คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และแรงจูงใจในการทำงานของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) จังหวัดบึงกาฬ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษาเป็นคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬ ประกอบด้วย ผู้แทนจากภาคราชการ ภาคเอกชน และภาคประชาชน จำนวน 180 คน เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและแรงจูงใจในการทำงานมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีระดับความคิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่า เท่ากับ 3.81 แรงจูงใจในการทำงานมีระดับความคิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเท่ากับ เท่ากับ 3.88 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยรวมกับแรงจูงใจในการทำงานโดยรวมมีความสัมพันธ์ในทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
References
เกตุศิรินทร์ เพ็ชรบูรณ์. การศึกษาลักษณะส่วนบุคคล ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และวัฒนธรรมองค์การ ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ กรณีศึกษาเขตสาทร กรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ; 2556.
ณิรดา เวชญาลักษณ์. ภาวะผู้นำทางการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย; 2560.
ธัญญามาส โลจนานนท์. ภาวะผู้นำและแรงจูงใจในการทำงานที่ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ของ พนักงาน กรณีศึกษา บริษัท ซิลลิค ฟาร์มา จำกัด วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2557.
นิออน ลีคะ, ประจักร บัวผัน, และมกราพันธุ์ จูฑะรสกา. คุณลักษณะส่วนบุคคลและแรงจูงใจที่มีผลต่อ การปฏิบัติงานควบคุมป้องกันวัณโรคของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 13 กันยายน 2564];14(1),13-24. เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RDHSJ/issue/view/17511/4567
น้ำฝน มีนิล และไพศาล ไกรรัตน์. การขับเคลื่อนการดำเนินงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ อำเภอ (พชอ.) จังหวัดบึงกาฬ : ปฐมบทของการเรียนรู้สู่การจัดการที่ยั่งยืน. บึงกาฬ: สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดบึงกาฬ; 2563.
ไพศาล ไกรรัตน์. ตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลต่อการพัฒนาระบบ บริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย [ภาคนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการพัฒนา คณะวิทยาการจัดการ]. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร; 2561.
วิโรจน์ สารรัตนะ. ภาวะผู้นำ: ทฤษฎีและนานาทัศนะร่วมสมัยปัจจุบัน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดทิพยวิสุทธิ์; 2557
ศรนรินทร์ ศรีสังคม และประจักร บัวผัน. คุณลักษณะส่วนบุคคลและแรงจูงใจที่มีผลต่อการพัฒนา คุณภาพบริการในโรงพยาบาล 5 เมสา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารวิจัยและพัฒนา ระบบสุขภาพ [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 13 กันยายน 2564];14(1), 391-403. เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RDHSJ/issue/view/17511/4567
สร้อยตระกูล อรรถมานะ. พฤติกรรมองค์การ : ทฤษฎีและการประยุกต์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2545.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ. รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา; 2560.
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. คู่มือประกอบการพิจารณาระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ.2561. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การ สงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์; 2561.
สมยศ ศรีจารนัย. บทบาทของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และลดความเหลื่อมล้ำของประชาชน ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 4 [หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
รุ่นที่ 60]. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร; 2560.
อรรถวิท ชื่นจิตต์. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการ ปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชนรุ่นเจนเนอเรชั่นวายในเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ; 2557.
อรุณรุ่ง เอื้ออารีสุขสกุล และธีระวัฒน์ จันทึก. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง: เปลี่ยนความท้าทายมุ่งสู่ ความสำเร็จขององค์การอย่างยั่งยืน. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal Silpakorn University ฉบับ ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - เมษายน 2559 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร [อินเตอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 18 กรกฎาคม 2564]; 9(1), 845- 860. เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/57039/47393
Hinkle, D.E, William, W. and Stephen G. J. Applied Statistics for the Behavior Sciences. 4thed. New York : Houghton Miffin; 1998.
Yamane, Taro. Statistics An introduction Analysis : Harper International; 1973.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น