ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียน มัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น
คำสำคัญ:
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์, นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย, พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุก, พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น ใช้แบบสอบถามชนิดตอบเอง ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป, พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์, แบบสอบถามเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อมของการดื่มแอลกอฮอล์, แบบประเมินความเครียด ST-5, แบบสอบถามความรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างจำนวนนักเรียน 130 คน เพศหญิง ร้อยละ 56.2 เพศชาย ร้อยละ 43.8 พบความชุกของนักเรียนที่ดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 69.2 เพศหญิง ร้อยละ 65.6 เพศชาย ร้อยละ 34.4 อายุเฉลี่ยที่เริ่มดื่มครั้งแรก 14.84 ปี ± 1.20 เหตุจูงใจในการดื่มแอลกอฮอล์ครั้งแรกมากที่สุด คือ ทดลองดื่ม, เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเภทที่นิยมดื่มมากที่สุด คือ เบียร์ สรุปผลการศึกษา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น คือ เพศ, เกรดเฉลี่ย, การดื่มแอลกอฮอล์ของเพื่อนสนิท, การเข้าถึงสื่อเกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
References
World Health Organization. [Internet]. Global status report on alcohol and health 2018. World Health Organization; 1970 [cited 2021 Nov 11]. Available from: https://apps.who.int/iris/handle/10665/274603
สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. รายงานการผลการดำเนินงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ [อินเตอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ; 2560. [เข้าถึงเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/uploads/files/1438820200823062406.pdf
กรมสุขภาพจิต. สถานการณ์การดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย [อินเตอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ; 2561. [เข้าถึงเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=123
พัชรินทร์ อดิสรณกุล. การศึกษารายกรณีผู้ป่วยโรคติดสุราหอผู้ป่วยจิตเวชโรงพยาบาลกาฬสินธุ์. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ. 2563;13(1):268-78.
สาวิตรี อัษณางค์กรชัย. รายงานสถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสังคมไทย ประจำปีพ.ศ. 2560. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สหมิตรพัฒนาการพิมพ์; 2562.
รัตติยา บัวสอน, เชษฐา รัชดาพรรณาธิกุล. พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยระดับปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานคร. รามาธิบดีพยาบาลสาร. 2555;18(2):259-71.
ดุษฎี จึงศิรกุลวิทย์. ‘สุรากับวัยรุ่น’ ถอดบทเรียนแนวทางการดูแล-ป้องกันพฤติกรรมการดื่มของเยาวชน [อินเตอร์เน็ต]. Alcohol Rhythm; 2020 [เข้าถึงเมื่อ 20 พ.ค. 2564] เข้าถึงได้จาก : https://alcoholrhythm.com/teenager-alcoholic-prevention/
Lemeshow S, Hosmer DW, Klar J, Lwanga SK, World Health Organization. Adequacy of sample size in health studies. Chichester: Wiley; 1990.
สุรเมศวร์ ฮาชิม, รัตนา เลิศสุวรรณศรี, รมิดา ศรีเหรา. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย จังหวัดปทุมธานี. Thai Journal of Science and Technology. 2017;6(1):1–10.
อัญชลี เหมชะญาติ, ศรีวรรณ ยอดนิล. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี.วารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม. 2555;8(1):115-28.
Pimathai C, Homsin P, Srisuriyawet R. Factors Related to Hazardous Drinking Among Male Vocational Students in Sisaket Province. Thai Red Cross Nursing Journal. 2021 Sep 2;14(1):170–84.
อรวรรณ ศิลปะกิจ. แบบวัดความเครียดฉบับศรีธัญญา. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย. 2551;16(3):177.
Wongpakaran T, Wongpakaran N. Confirmatory factor analysis of Rosenberg Self-Esteem Scale: A study of Thai student sample. J Psychiatr Assoc Thailand. 2011;56(1):59–70.
Hosiri T, Sittisun C, Limsricharoen K. Drinking Behavior and Its Prevalence in Grade 10th Students. Journal of the Psychiatric Association of Thailand. 2016 Mar 18;61(1):3–14.
Samai T, Jewpattanakul Y, Phetphansee S. The Relationships between Personal, Socioeconomic and Stress Factors on Alcohol Drinking Behavior of Dwellers in Bangkoknoi District, Bangkok. Nursing Science Journal of Thailand. 2015 Mar 31;33(1):42–50.
รัตติยา ทอนพลกรัง, พรนภา หอมสินธุ์, รุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดื่มสุราแบบหนักเป็นครั้งคราวของนักเรียนชายอาชีวศึกษาในจังหวัดสุรินทร์. Journal of Public Health Nursing. 2015;29(1):29–42.
มัณฑนา มณีโชติ, กาญจนาณัฐ ทองเมืองธัญเทพ, ณัฏฐ์นรี คำอุไร. พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นหญิงในโรงเรียนเทศบาลเมืองสระบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ. 2561;11(3):460-66.
สันติสิทธิ์ เขียวเขิน, วิทยา อยู่สุข, วิศิษฎ์ ทองคำ. ปัจจัยทำนายการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา. Journal of Science & Technology MSU. 2019;38(2):158-67.
Kaewkiaw J, Sethabouppha H, Thapinta D. Online Social Media Use and Alcohol Drinking Behaviors Among University Students. Nursing Journal. 2020 Sep 18;47(3):215–27.
นัชชา ยันติ, กริช เรืองไชย. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมเสี่ยงการเสพติดสมาร์ทโฟนในนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ใน พระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ. 2561;11(3):324-30.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น