ประสิทธิผลการเยี่ยมบ้านโดยเภสัชกรที่มีต่อความร่วมมือในการใช้ยาและการควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร

ผู้แต่ง

  • สิระ บูชา โรงพยาบาลเต่างอย, จังหวัดสกลนคร

คำสำคัญ:

การเยี่ยมบ้านโดยเภสัชกร, ความร่วมมือในการใช้ยา, น้ำตาลสะสมในเลือด, เบาหวานชนิดที่ 2

บทคัดย่อ

การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi - Experimental Study) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลการเยี่ยมบ้านโดยเภสัชกรที่มีต่อความร่วมมือในการใช้ยาและการควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 68 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 35 ราย และกลุ่มทดลอง 33 ราย เครื่องมือวิจัย ได้แก่ ให้ความรู้ เรื่องโรคและการใช้ยา ปรับทัศนคติต่อการใช้ยา ปรับเปลี่ยนวิธีการใช้ยาให้เข้ากับชีวิตประจำวัน การฝึก ปฏิบัติแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่พบในชีวิตประจำวันและกลุ่มทดลองได้รับการเยี่ยมบ้านโดยเภสัชกร จำนวน 2 ครั้ง ในสัปดาห์ที่ 1 และสิ้นสุดการทดลองสัปดาห์ที่ 10 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบระหว่างตัวแปรโดยใช้สถิติ Chi-square, Fisher-exact test, Dependent t-test และ Independent t-test

References

International Diabetes Federation. IDF Diabetes atlas[Internet]. 9th ed. Brussels, Belgium; 2019 [cited 2019 Sep 12]. Available from: https://www.diabetesatlas.org

สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยและคณะ. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2560. พิมพ์ครั้งที่ 2. ปทุมธานี. ร่มเย็น มีเดีย; 2560.

เครือข่ายวิจัยกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. รายงานฉบับสมบูรณ์การเก็บรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2561 [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 10 กันยายน 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://dmht.thaimedresnet.org/index.html

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร. ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

เขตสุขภาพที่ 8 จังหวัดสกลนคร [อินเทอร์เน็ต]. 2562. [เข้าถึงเมื่อ 19 ตุลาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: https://snk.hdc.moph.go.th/hdc/reports/report_kpi.php?flag_kpi_level=9&flag_kpi_year=2019&source=pformated/format1.php&id=137a726340e4dfde7bbbc5d8aeee3ac3.

World Health Organization. Adherence to long-term therapies: Evidence for action [Internet]. Genève, Switzerland: World Health Organization; 2003 [cited 2019 Sep 19]. Available from: https://apps.who.int/iris/handle/10665/42682.

ศิริรัตน์ ตันปิชาติ. 2553. ประสิทธิผลของเภสัชกรเยี่ยมบ้านในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานประเภท 2 ในชุมชนเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2553. doi: 10.14457/CU.the.2010.1275.

นรินทรา นุตาดี, กฤษณี สระมุณี. การประเมินผลการเยี่ยมบ้านโดยทีมสหวิชาชีพที่มีเภสัชกรร่วมทีมเพื่อจัดการปัญหาการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น. ว. เภสัชกรรมไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 10 กันยายน 2562];8:206–16. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/TJPP/article/view/169723.

อุไรลักษณ์ เทพวัลย์, สัมมนา มูลสาร, จีริสุดา โอรสรัมย์, ก้องเกียรติ สำอางศรี,พุทธางกูร ใจเป็น

และเอกราช เย็นวิจิตรโสภา. 2551. ผลของการบริบาลเภสัชกรรมโดยการออกเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยเบาหวาน. ว. เภสัชกรรมโรงพยาบาล;18(1):39-51.

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล: การจัดการระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังกรณีเบาหวานและความดันโลหิตสูง.กรุงเทพฯ. สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง; 2553.

ธวัชชัย วรพงศธร, สุรีย์พันธุ์ วรพงศธร. การคำนวณขนาดตัวอย่างสำหรับงานวิจัยโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป G*Power. ว. การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 10 กันยายน 2562];41(2):11–21. เข้าถึงได้จาก: https://e-journal.snru.ac.th/topics/732/.

รสมาลิน ชาบรรทม, พรรณทิพา ศักดิ์ทอง. ผลของภาวะซึมเศร้าต่อความร่วมมือในการใช้ยาและการควบคุมระดับน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. ว. เภสัชกรรมโรงพยาบาล [อินเทอร์เน็ต]. 2552 [เข้าถึงเมื่อ 10 กันยายน 2562];19(1):17–27. เข้าถึงได้จาก https://www.thaihp.org/download.php?option=showfile&file=92.

American College of Preventive Medicine. Medication adherence - Improving health outcomes [Internet]. [cited 2019 Sep 19]. Available from: http://acpm.site-ym.com/resource/resmgr/timetools-files/adherenceclinicalreference.pdf

พิสนธิ์ จงตระกูล. การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเพื่อการจัดการโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ. วัฒนาการพิมพ์; 2557.

Mustafa K, Levent O. Bioavailability file: Glipizide. FABAD Journal of Pharmaceutical Sciences [Internet]. 2006[cited 2019 Sep 19];(31):151–61. Available from: https://www.researchgate.net/publication/232053377_Bioavailability_file_Glipizide

ภวัคร ชัยมั่น. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในอำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ประเทศไทย [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2552.

ชัชฎาภรณ์ กมขุนทด. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2554.

นงค์ลักษณ์ อิงคมณี, ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, ธวัชชัย พีรพัฒน์ดิษฐ์. ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการแก้ไขปัญหาต่อความสม่ำเสมอในการรับประทานยาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. ว. พยาบาลศาสตร์. 2554;29(2):56–64.

สิริมาส วงศ์ใหญ่, วันทนา มณีศรีวงศ์กูล , พรรณวดี พุธวัฒนะ . ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่คลินิกเบาหวาน.

ว. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ [อินเทอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 23 ตุลาคม 2562];30(2): 80–90. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/bcnbangkok/article/view/29285.

Al-Qazaz HK, Sulaiman SA, Hassali MA, Shafie AA, Sundram S, Al-Nuri R, et al. Diabetes knowledge, medication adherence and glycemic control among patients with type 2 diabetes. Int J Clin Pharm. 2011;33(6):1028–35. doi: 10.1007/s11096-011-9582-2.

Stratton IM, Adler AI, Neil HA, Matthews DR, Manley SE, Cull CA, et al. Association of glycaemia with macrovascular and microvascular complications of type 2 diabetes (UKPDS 35): prospective observational study. BMJ. 2000;321(7258):405–12. doi: https://doi.org/10.1136/bmj.321.7258.405.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-05-03