การพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวัง คัดกรอง และดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน จังหวัดเลย

ผู้แต่ง

  • กายสิทธิ์ แก้วยาศรี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
  • บุญมา สุนทราวิรัตน์ กระทรวงสาธารณสุข http://orcid.org/000-3420-2000-1150

คำสำคัญ:

การพัฒนารูปแบบ, การเฝ้าระวังคัดกรอง, การดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน

บทคัดย่อ

การวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D) นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวัง คัดกรอง และดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน โดยพัฒนารูปแบบการดำเนินงานที่มีอยู่เดิม ภายใต้บริบทพื้นที่ ดำเนินการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 20 แห่ง ของจังหวัดเลย เก็บข้อมูลระหว่างเดือนเมษายน ถึง ธันวาคม 2564 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา

ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเฝ้าระวัง คัดกรอง และดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนที่ได้รับการพัฒนา ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพจิตร้อยละ 49.68 ในพื้นที่ขนาดเล็ก ระยะเวลา 3 เดือน และร้อยละ 59.62 ในพื้นที่จังหวัดเลย ระยะเวลา 6 เดือน ประเมินสุขภาพจิตซ้ำโดยเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 0.29 ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ ร้อยละ 17.50 ของผู้ที่ได้รับการประเมินซ้ำ ได้รับการวินิจฉัยและส่งกลับ ร้อยละ 33.33 ของผู้ที่ส่งต่อ ประชาชนที่อยู่ในกลุ่มต้องเฝ้าระวัง 113 คน

รูปแบบที่ได้รับการพัฒนาช่วยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการจิตเวชได้มากขึ้น การเฝ้าระวังผู้ป่วยรายใหม่ การดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย มีความเชื่อมโยงการทำงานระหว่าง 3 หมอ รวมทั้งการเตรียมชุมชนในการรับผู้ป่วยกลับ การดูแลผู้ป่วยจิตเวชตามบริบท อุปสรรคที่พบมักเกิดจากการระบาดของยาเสพติดและระบบสื่อสาร

Author Biography

บุญมา สุนทราวิรัตน์, กระทรวงสาธารณสุข

ข้าราชการ

References

Department of Mental Health, Ministry of Public Health. 2014. [Internet]. [Cited 2020 Mar 1]. Available from: https://dmh.go.th/report/suicide/

Bungkrachang T, Thanee T and Sithikun P. Care of schizophrenia by community. Journal of nurse and health care. 2018. Volume 16, No 2, April – June 2018, 68-76.

Nuntaboot. Information utilization for care of elders by community. Journal of nursing science &health. 2010. Volume 39, No 3, August- Sep 2016.

ขจีรัตน์ ปรักเอโก และคณะ. คู่มือการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนสำหรับบุคลากรในหน่วยบริการ ระดับปฐมภูมิ. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดแสงจันทร์การพิมพ์. 2559.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการจัดการโรคซึมเศร้า. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรประเทศไทย จำกัด. 2557.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. 2562. [อินเตอร์เน็ต] [เข้าถึงเมื่อ 15 กันยายน 2563] เข้าถึงได้จาก: https://dmh.go.th/report/suicide/

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย. ฐานข้อมูล Health Data Centre: HDC. 2562. [อินเตอร์เน็ต] [เข้าถึงเมื่อ 30 กันยายน 2563] เข้าถึงได้จาก: https://www.lo.moph.go.th/main/

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน, กระทรวงสาธารณสุข. สถิติสาธารณสุข พ.ศ.2562. มปส. 2562.

กิตติยา วงษ์ขันธ์. รูปแบบการวิจัยและพัฒนา (R&D) รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR). [อินเตอร์เน็ต] [เข้าถึงเมื่อ 10 กันยายน 2564] เข้าถึงได้จาก: https://www.ubu.ac.th/

ชาย โพธิสิตา. ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้งติ้ง. 2552.

Albert Farre and Tim Rapley. The New Old (and Old New) Medical Model: Four Decades Navigating the Biomedical and Psychosocial Understandings of Health and Illness. US National Library of Medicine, National Institutes of Health. 2017.

ศรินรัตน์ จันทพิมพ์ และขนิษฐา นันทบุตร. การดูแลผู้ป่วยจิตเภทโดยชุมชน. วารสารการพยาบาล และการดูแลสุขภาพ. 2561. ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2561.

ทนงศักดิ์ราชเจริญ และพรรษ โนนจุ้ย. ความรู้และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความรู้เกี่ยวกับโรคจิตเภท ของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทในเขตคลินิกหมอครอบครัวแก้วโนนคานาสุขจังหวัดกาฬสินธุ์.วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564. 247-255.

พัฒนี ศรีโอษฐ์ และภาสินี โทอินทร์. ผลของกิจกรรมการสอนสุขภาพจิตที่เน้นการฝึกทักษะต่อการทำหน้าที่ทางสังคมของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564. 310-319.

ศูนย์สุขภาพจิตที่ 1-13 และ 15, กรมสุขภาพจิต. รูปแบบการนำแนวทางการดำเนินงานและพัฒนาสุขภาพจิตในชุมชนสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปใช้ในชุมชน. มปป.

ศูนย์สุขภาพจิตที่ 8, กรมสุขภาพจิต, กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการดำเนินงานระบบสุขภาพจิต เขตสุขภาพที่ 8 ปี 2564.

ฐิตวันต์ หงส์กิตติยานนท์, ลักขณา ยอดกลกิจ และมาลินี ชมชื่น. รูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน จังหวัดนนทบุรี. วารสารบทคัดย่อกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลการวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6. 2562. หน้า 212-223.

กรองจิต วิไลศรี. รูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลจิตเวชมหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2551.

จิรภา วิลาวรรณ. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและป้องกันภาวะซึมเศร้าเชิงสังคม และวัฒนธรรมในกลุ่มผู้สูงอายุตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2565. 181-195.

อติญา โพธิ์ศรี. การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง: กรณีศึกษาที่ชุมชนบ้านท่าม่วง จังหวัดร้อยเอ็ด. ศรีนครินทร์เวชสาร.2562. ปีที่ 34 ฉบับที่ 1. 83-89.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-09-02