การศึกษาความเข้มแข็งทางใจ (Resilience Quotient) ของประชาชนไทยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
คำสำคัญ:
ความเข้มแข็งทางใจ, โควิด-19, ประชากรวัยทำงานบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวางมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้มแข็งทางใจระหว่างประชากรวัยทำงานในกลุ่มบุคคลทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด-19 เพื่อเปรียบเทียบคะแนนความเข้มแข็งทางใจตามปัจจัยชีวสังคมและผลกระทบจากโควิด-19 ของประชากรวัยทำงานในกลุ่มบุคคลทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด-19 และเพื่อเปรียบเทียบความเข้มแข็งทางใจระหว่างประชากรวัยทำงานในกลุ่มบุคคลทั่วไปและกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรวัยทำงานกลุ่มบุคคลทั่วไป 1,537 คนและกลุ่มเสี่ยง 2,017 คน สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เก็บข้อมูลด้วยแบบประเมินความเข้มแข็งทางใจออนไลน์ ตั้งแต่กุมภาพันธ์-สิงหาคม 2564 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา t-test และความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยความเข้มแข็งทางใจในภาพรวมของประชากรวัยทำงานกลุ่มบุคคลทั่วไปอยู่ระดับเกณฑ์ปกติ ( =57.98±7.17) และกลุ่มเสี่ยงอยู่ระดับต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ (=54.16±8.79) ภูมิภาค อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ ความรู้สึกวิตกกังวลและผลกระทบจากโควิด-19 ต่างกันมีความเข้มแข็งทางใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ประชากรวัยทำงานกลุ่มบุคคลทั่วไปมีคะแนนความเข้มแข็งทางใจเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มเสี่ยงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้น ควรส่งเสริมความเข้มแข็งทางใจที่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยชีวสังคมและผลกระทบจากโควิด-19
References
วิวัฒน์ โรจนพิทยากร. โรคติดเชื้อโคโรนา 2019 กับความโกลาหลในสังคม. วารสารวิชาการสาธารณสุข. ก.ค.-ส.ค. 2564;30 ฉบับเพิ่มเติม 2:s195-96.
Holmes EA, O'Connor RC, Perry VH, Tracey I, Wessely S, Arseneault L, et al. Multidisciplinary research priorities for the COVID-19 pandemic: A call for action for mental health science. Lancet Psychiatry 2020; 7(6): 547-60.
Hui DS, Azhar EI, Madani TA, Ntoumi F, Kock R, Dar O, et al. The continuing 2019-nCoV epidemic threat of novel coronaviruses to global health: The latest 2019 novel coronavirus outbreak in Wuhan, China. Int J Infect Dis. 2020 Feb;91:264-66. PubMed PMID: 31953166
Galea S, Merchant RM, Lurie N. The mental health consequences of COVID- 19 and physical distancing: The need for prevention and early intervention. JAMA Intern Med. 2020;180(6):817-18. doi.org/10.1001/jamainternmed.2020.1562
Lima CKT, de Carvalho, PMM, de Lima, IAAS, de Nunes, JVAO, Saraiva JS, de Souza RI, et al. The emotional impact of Coronavirus 2019-nCov (New Coronavirus Disease). Psychiatry Res. 2020 May; 287. PubMed PMID: 32199182
Goyal K, Chauhan P, Chhikara K, Gupta P, Singh MP. Fear of COVID 2019: First suicidal case in India!. Asian J Psychiat. 2020 Mar;49:101989. PubMed PMID: 32143142
Paredes MR, Apaolaza V, Fernandez-Robin C, Hartmann P, Yañez-Martinez D. The impact of the COVID-19 pandemic on subjective mental well-being: The interplay of perceived threat, future anxiety and resilience. Pers Individ Dif. 2021 Feb 170:110455.
Zhang J, Wu W, Zhao X, Zhang W. Recommended psychological crisis intervention response to the 2019 novel coronavirus pneumonia outbreak in China: A model of West China Hospital. Precision Clinical Medicine, 2020;3(1),3-8.
Kocjan GZ, Kavčič T, Avsec A. Resilience matters: Explaining the association between personality and psychological functioning during the COVID-19 pandemic. Int J Clin Health Psychol. 2021;21(1),1-9.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. แบบประเมินพลังสุขภาพจิต. [กรุงเทพฯ]: บียอนด์ พับลิชชิ่ง; 2550.
Osofsky HJ, Osofsky JD, Hansel TC. Deepwater horizon oil spill: Mental health effects on residents in heavily affected areas. Disaster Med Public Health Prep. 2011;5(4),280–86.
Killgore WDS, Taylor EC, Cloonan SA, Dailey NS. Psychological resilience during the COVID-19 lockdown. Psychiatry Res. 2020;29(1),1–2.
สำนักงานสถิตแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. สรุปผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร (เดือนมีนาคม พ.ศ. 2563). แหล่งที่ค้น http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านสังคม/สาขาแรงงาน/ภาวะการทำงานของประชากร/2563/Report_03-63.pdf.
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). [กรุงเทพฯ]: สุวีริยาสาส์น, 2560.
เยาวนาฎ ผลิตนนท์เกียรติ, สมพร อินทร์แก้ว และกาญจนา วณิชรมณีย์. การพัฒนาแบบประเมินพลังสุขภาพจิตสำหรับประชาชนไทยวัยผู้ใหญ่ อายุ 25-60 ปี. วารสารจิตวิทยาคลินิก. 2555;43(1):53-66.
นุชนาฏ ธรรมขัน และบุรณี กาญจนถวัลย์. พลังสุขภาพจิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมกระดาษ จังหวัดนครปฐม. เวชศาสตร์ร่วมสมัย. 2558;5(4):443-55.
จิตรภาณุ ดำสนวน. ปัจจัยที่เป็นตัวพยากรณ์ภูมิคุ้มกันทางใจของวัยรุ่นในอำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 561;4(1):19-28.
ตันติมา ด้วงโยธา. การศึกษาและพัฒนาความหยุ่นตัวของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชโดยการให้ปรึกษาเป็นรายบุคคล [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต] สาขาวิชาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2553.
Kohlberg L. Development of moral character and moral ideology. In: Hoffman ML, Hoffman LW, eds. Review of child development research. New York: Russel sage foundation; 1974. p. 383-432.
เทียนทอง หาระบุตร. ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับพลังสุขภาพจิตของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต] สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2555.
ฐิติรัตน์ ดิลกคุณานันท์. ความเครียดจากการทำงาน การสนับสนุนทางสังคมและพลังสุขภาพจิตของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินในพื้นที่เสี่ยงภัยจังหวัดชายแดนภาคใต้ [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต] สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560.
สิทธิพล วิบูลย์ธนากุล. โควิด-19 กับสุขภาพจิต รัฐบาลต้องใส่ใจ. กรุงเทพธุรกิจ. 5 พ.ค. 2563; แหล่งที่ค้น https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/650099
จิตเกษม พรประพันธ์, มณฑลี กปิลกาญจน์, นันทนิตย์ ทองศรี และพรชนก เทพขาม. กิจการเสี่ยงและมาตรการดูแลภายใต้ผลกระทบของโควิด-19. แหล่งที่ค้น https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/Article_30Apr2020.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น