ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังต้านการเสพยาบ้าต่อความตั้งใจเลิกเสพยาบ้าของผู้ต้องขังเรือนจำ จังหวัดพิษณุโลก

ผู้แต่ง

  • เทอดศักดิ์ เนียมเปีย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • วุฒิชัย จริยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

พลังต้านการเสพยาบ้า, ผู้ต้องขัง, เรือนจำ, ทักษะชีวิต, ทฤษฎีปัญญาสังคม, ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental Research) แบบวัดซ้ำ (Repeated Measures Design) โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังต้านการเสพยาบ้าต่อความตั้งใจเลิกเสพยาบ้าของผู้ต้องขังเรือนจำ จังหวัดพิษณุโลก ทฤษฎีปัญญาสังคม ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล แนวคิดทักษะชีวิต แนวคิดพลังต้านการเสพยาบ้า และมาตรการป้องกันการเสพยาบ้าซ้ำ  ถูกนำมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างพลังต้านการเสพยาบ้าในผู้ต้องขังเรือนจำ จังหวัดพิษณุโลก ใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 72คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 36 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 36 คน โดยกลุ่มทดลองได้จัดกิจกรรมตามโปรแกรมเสริมสร้างพลังต้านการเสพยาบ้า จำนวน 8 ครั้ง ประกอบด้วย 11 กิจกรรม ระยะเวลา 4 สัปดาห์เกบ็ข้อมลูโดยใช้แบบสอบถามวิเคราะห์ขอ้มูลทั่วไป ด้วยสถิติเชิงพรรณนา(Descriptive Statistics) ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความตั้งใจเลิกเสพยาบ้า  โดยสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ(Repeated ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการทดลอง กลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบมีค่าคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจเลิกเสพยาบ้าไม่แตกต่างกัน หลังทดลอง 4 สัปดาห์   กลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจเลิกเสพยาบ้าสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ p-value<0.05ผลการเปรี ยบเทียบ หลังทดลอง 4 สัปดาห์8 สัปดาห์ 12 สัปดาห์และ 16 สัปดาห์ภายในกลุ่มทดลอง พบว ่ากลุ่ม ทดลองมีคา่คะแนนเฉลี่ย ความตงั้ใจเลิกเสพยาบ้า สูงกว ่า ก ่อนการทดลอง อย ่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ p-value><0.001

References

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. คำแนะน าการดูแลผู้มีปัญหาสารเสพติดเมทแอมเฟตามีน สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ใน สถานบริการระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ. เชียงใหม่: แบรนด์ดิเพล็กซ์, 2558.

ปิยวรรณ สารมาศ. ผลของโปรแกรมสร้างแรงจูงใจภายในร่วมกบัการสนับสนุนจากครอบครัวต่อความตั้งใจในการลดการกลับไปเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติดในคลินิกบำบัดยาเสพติด โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2556.

ปิยวรรณ ทัศนาชลี. กระบวนการไม่เสพยาซ้ำ:กรณีศึกษาผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบำบัด (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2554.

มนัส สุนทรโชติ. ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับพลังต้านการเสพยาบ้าของวัยรุ่นที่เข้ารับการบำบัดแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในเขต ภาคตะวันออก (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.

เรือนจำจังหวัดพิษณุโลก. รายงานสถิติผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก: เรือนจำจังหวัดพิษณุโลก, 2559.

วันเพ็ญ อำนาจกิติกร. ปัจจัยทางจิตสังคมและความตั้งใจเลิกยาเสพติดของผู้ติดยายาเสพติดในศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด เชียงใหม่. เชียงใหม่: สถาบันธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2553.

ศูนย์ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กรมราชทัณฑ์. สถิติผู้ต้องขังยาเสพติด., 2557. สืบค้น 30 ตุลาคม 2558, จาก http://www.correct.go.th/drug3/ #statistic

สถาบันธัญญารักษ์. สถิติการรักษาแบบผู้ป่วยในของสถาบันธัญญารักษ์. 2557. สืบค้น 30 มิถุนายน 2559, จาก http://www.pmnidat.go.th/thai/index.php

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด. 2553. สืบค้น 10 ตุลาคม 2558, จาก http://wwwoncb.go.th/PortalWeb/Name.jsp?linkName=document/p1-solution.htm

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. สถานการณ์ยาเสพติดประกอบการจัดทำแผนปี 2553. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการป้องกันนและปราบปรามยาเสพติด, 2553.

สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือ Guideline แนวทางการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานพัฒนาระบบงานยาเสพติดด้านการบริหารจัดการของหน่วยงานสาธารณสุขส่วนภูมิภาค (พบยส.) กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2555.

สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. ระบบรายงานระบบติดตามและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด. 2559. สืบค้น 30 มิถุนายน 2559,จาก http://antidrug.moph.go.th.

สุกุมา แสงเดือนฉาย, สำเนา นิลบรรพ์, วันเพ็ญ ใจปทุม, สุวภัทร คงหอม, ญาดา จีนประชา, และธัญญา สิงห์โต. ผลของการบำบัดความคิดและพฤติกรรมเพื่อป้องกันการติดซ้ำของผู้ป่วยเมทแอมเฟตามีนที่เข้ารับการบำบัดรักษาแบบผู้ป่วยใน. นนทบุรี: เดอะกราฟิโก ซิสเตม, 2557.

สุกุมา แสงเดือนฉาย. ผลของโปรแกรมการบำบัดความคิดและพฤติกรรมร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมที่มีต่อความพร้อมที่จะป้องกันการติดซ้ำและพฤติกรรมการไม่ติดซ้ำของผู้ป่วยสุรา (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2554.

สุทธิชัย ศิรินวล. มาตรการป้องกันการเสพยาบ้าซ้ำในกลุ่มผู้ผ่านการบำบัด จังหวัดสุโขทัย (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2557.

อาภาศิริ สุวรรณานนท์, รัตนา บรรณาธรรม, แววรัตน์ โชตินิพัทธ์, และสหัทยา หนูพลับ. ปัจจัยด้านบุคคลที่มีผลต่อการติดยาเสพติดซ้ำ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด, 2550.

Ajzen, I., & Fishbein, M. A Bayesian analysis of attribution processes. Psychological Bulletin, 82(2),1975 261.

Ajzen, I., & Fishbein, M. Attitude-behavior relations: A theoretical analysis and review of empirical research. Psychological Bulletin, 84(5),1997. 888-918.

Bandura, A. Social Foundation of Thought and Action: A Social Cognitive Theory. Englewood Cliff, N.J: Prentice Hall, 1986.

Botvin, G. J. Preventing adolescent drug abuse through life skills training: Theory evidence of effectiveness and implementation issues. In W. B. Hansen, G. M. Giles, & M. D. Fear now-Kenney (Eds.), Improving prevention effectiveness(pp.141-153). Greensboro, N.C: Tanglewood, 1986.

Botvin, G. J. Life skills training: An evidence-based approach for preventing alcohol, Tobacco, Illicit drug abuse and violence. 2010. Retrieved October 10, 2015, from http://www.lifeskill straining.com.

Botvin, G. J., & Griffin, K. W. Life skills training as primary prevention approach for adolescent drug abuse and other problem behaviors. International Journal of Emergency mental Health, 4(1),2002. 41-48.

Botvin, G. J., & Griffin, K. W. Life skills training: Empirical findings and future directions. Journal of Primary Prevention, 25(2), 2004. 211-232.

Dillon, L., Chivite-Matthews, N., Grewal, I., Brown, R., Webster, S., Weddell, E.,… Smith, NRisk, protective factors and resilience to drug use: Identifying resilient young people and learning from their experiences. England: Great Britain Home Office Research Development and Statistics Directorate.

United Nations Office on Drugs and Crime. World drug report 2015: Vienna. Retrieved October 5, 2015, from http://www.unodc.org/documents/wdr2015/World _Drug_Report_2015.pdf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-04-30