การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะบุคลากรสาธารณสุข บริการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในระบบบริการสุขภาพ : ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ จังหวัดเพชรบูรณ์
คำสำคัญ:
การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะบุคลากรสาธารณสุข และระบบบริการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในระบบบริการสุขภาพ : กรณีศึกษาในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ จังหวัดเพชรบูรณ์บทคัดย่อ
วัฒนธรรมความปลอดภัยขององค์กรเป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ป่วย งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะบุคลากรสาธารณสุขและระบบบริหารจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในระบบบริการสุขภาพ วิธีดำเนินการวิจัย รูปแบบดำเนินการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน 2 ระยะ การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรสาธารณสุขของโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ จำนวน 240 คน ใช้การสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม 5 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะส่วนบุคคล ความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติ องค์ประกอบด้านความปลอดภัยผู้ป่วย และสมรรถนะการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ตรวจสอบความเชื่อมั่นโดยสัมประสิทธิ์
แอลฟ่าครอนบาค มีค่า 0.867 การวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรสาธารณสุขที่ผ่านการตอบแบบสอบถาม 25 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้างได้จากแนวคำถามวิจัยเชิงปริมาณ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า องค์ประกอบด้านความปลอดภัยอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 82.55) สมรรถนะการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของบุคลากรสาธารณสุข มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 86.79) แนวทางการพัฒนารูปแบบการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ประกอบด้วย โครงสร้าง กลยุทธ์ ระบบการทำงาน ทักษะ รูปแบบ บุคลากรและค่านิยมร่วม
ข้อเสนอแนะ การกำหนดรูปแบบบริหารจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติงานแก่บุคลากรในโรงพยาบาลทุติยภูมิ
References
World Health Organization. Quality of care: patient safety. Fifty-fifty World Health ssembly A55/13. Provisional Agenda item 13.9 [online] 23 March 2002 [cited 2023 Jan 02];1-6.Available from: URL:http//www/who/int/gb/EB_WHA/PDF/WHA55/ea5513.pdf
กระทรวงสาธารณสุข. ความปลอดภัยและการบริหารความเสี่ยงในสถานพยาบาล ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข. ที่ สธ. 0228.05/2690. 2559.
อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล. ระบบบริหารความเสี่ยงในโรงพยาบาล. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร:
ดีไซร์, 2543: 2-14.
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล. Patient safety concept and practice. นนทบุรี: สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. 2561.
รายงานประจำปีของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ 2564. เอกสารอัดสำเนา. 2564.
จอมภัค จันทะคัต. ปัจจัยสมรรถนะที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการทำงานของอาจารย์ สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ 2561; 7(1): 162-176.
พงษ์ศักดิ์ ด้วงทา. การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพครูโรงเรียนเอกชนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาพิษณุโลก เขต 1. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดาฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม. 2557.
Sign, A. A Study of role of McKinsey’s 7S framework in achieving organizational excellence. Organization Development Journal 2013; 331(3): p39.
Daniel W.W. Biostatistics: Basic Concepts and Methodology for the Health Sciences.(9th ed). New York: John Wiley & Sons. 2010.
Bloom, B.S. Taxonomt of Education. David McKay Company Inc., New York. 1975.
Best, John W. Research is Evaluation. (3rded). Englewood Cliffs: N.J. Prentice-Hall. 1977.
Cronbach, Lee J. Essentials of Psychological Testing. 3rd ed. New York: Harper. 1951.
กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. มาตรฐานการพยาบาลใน โรงพยาบาล(ปรับปรุงครั้งที่ 1) กรุงเทพมหานครฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2524.
กรรณิการ์ สิทธิชัย, สันติธร ภูริภักดี. การจัดการองต์กรตามแนวคิด 7s ของ McKinsey ที่เอื้อต่อการเป็นองค์กรนวัตกรรม กรณีศึกษาองค์กรที่ได้รางวัลองค์กรนวัตกรรมยอดเยี่ยม. Verdian E-Journal, Silpakorn University 2561; 11(3): 1419-1435.
อัครกิตต์ พัฒนสัมพันธ์. ประสิทธิภาพ ตามแนวคิด 7s ของ McKinsey กรณีศึกษา บริษัทเอกชนแห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว์ อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารวิจัยรำไพพรรณี 2565; 16(1): 5-14.
จริญญา บุญรอดรักษ์. ปัจจัยทำนายความสามารถด้านความปลอดภัยผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชลบุรี จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล มหาวิทยาลัยบูรพา. 2561.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น