ประสบการณ์การดูแลเด็กก่อนวัยเรียนโรคหืดที่ควบคุมโรคไม่ได้ของผู้ดูแล

ผู้แต่ง

  • กานต์รวี โบราณมูล วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ศิราณี อิ่มน้ำขาว วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

ประสบการณ์การดูแลของผู้ดูแล, เด็กก่อนวัยเรียนโรคหืดที่ควบคุมโรคไม่ได้

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลเด็กก่อนวัยเรียนโรคหืดที่ควบคุมโรคไม่ได้ของผู้ดูแล

รูปแบบและวิธีวิจัย : วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) จำนวน 15 ราย ได้แก่ ผู้ดูแลเด็กโรคหืด อายุระหว่าง 3 - 6 ปี ที่อยู่ในกลุ่มควบคุมโรคไม่ได้ตามเกณฑ์ของ GINA guideline รับการรักษาในคลินิกโรคหืด โรงพยาบาลมหาสารคาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์

ผลการศึกษา : ผู้ดูแลให้ความหมายของโรคหืดเป็นโรคภูมิแพ้ ติดเชื้อทางเดินหายใจรุนแรง น่ากลัวและเป็นโรคทางกรรมพันธุ์ เกิดจากการแพ้สิ่งต่างๆ รับรู้และจัดการเมื่อมีอาการไอ เป็นหวัด และมีหอบ จมูกบาน เชื่อว่าการพบแพทย์ตามนัดสม่ำเสมอ และการดูแลให้เด็กแข็งแรง หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นจะหายขาด แต่การดูแลโดยเฉพาะการพ่นยาแตกต่างกันมาก หลายรายไม่มั่นใจ ส่งผลให้อาการกำเริบรุนแรงและเกิดความกังวลมาก กลัวเด็กเสียชีวิต

การจัดการที่คิดว่าทำได้ยาก คือ การลดสิ่งกระตุ้นและต้องการให้มีการสนับสนุนจากครอบครัวและชุมชน การพยาบาลต้องประเมินตามสภาพการณ์จริงของแต่ละครอบครัว เพื่อนำสู่ความเข้าใจที่ถูกต้องของผู้ดูแล ครอบครัว เพื่อการจัดการดูแลอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อไป

 

References

สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์. ผลลัพธ์ทางคลินิกทางคุณภาพชีวิตและทางเศรษฐศาสตร์ของการดูแลระยะยาวในผู้ป่วยเด็กโรคหืดของประเทศไทย [Internet].2554 [เข้าถึงเมื่อ 30 มิถุนายน 2564]; เข้าถึงได้จาก: http:// www.tnrr. in.th/?page=result_search&record_id=10427590.

Nookong, A., Payakkaraung, S., Pongsaranuntaku, Y., & Chudapongse, S. Caregivers’ Management for Children with Asthma. Journal of Nursing Science 2012; 30 (1): 49-60.

Cheezum, R. R., Parker, E. A., Sampson, N. R., Lewis, T. C., O'Toole, A., Patton, J., et al.Nightwatch: Sleep Disruption of Caregivers of Children With Asthma in Detroit. Journal of Asthma & Allergy Educators 2013; 4(5): 217-225.

GINA guideline, C. Global strategy for asthma management and prevention. 2011[ Internet]. [ cited 2021 June 3]. Available from: http://guidelines.gov/content.aspx?id=37283.

ญาดา สมานชัย. การประเมินผลการมาพ่นยาขยายหลอดลมที่ห้องฉุกเฉินในผู้ป่วยเด็กของโรงพยาบาล วาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ 2557. วารสารอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2557; 2(2): 30- 37.

สายพิณ ฤทธิโคตร.ผลลัพธ์การดูแลรักษาผู้ป่วยเด็กโรคหืดของโรงพยาบาลมหาสารคาม.วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม 2564; 18 (1): 167-177.

Chou,K.R. Care giver burden: A concept analysis. Journal of Pedriatric Nursing 2000; 15(6): 198-407.

Zaraket R, Al - Tannir MA, Bin Abdulhak AA, Shatila A, Lababidi H. Parental perceptions and beliefsabout childhood asthma: a cross-sectional study. Croat Med Journal [Internet]. 2011 [cited 2022 June 3]; 52 (5): 637-43. Available from: https://www. ncbi. nlm. nih. gov/ pmc/ articles/ PMC 3195973/.

แก้วกาญจน์ เสือรัมย์. การพยาบาลเด็กที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ. ขอนแก่น:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2564.

อัญชลี จันทร์สว่างภูวนะ. ผลสัมฤทธิ์การรักษาหอบหืดในเด็ก ณโรงพยาบาลบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2559; 25(5): 846-852.

อภิชาติ คณิตทรัพย์ และคณะ. แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืดในประเทศไทยสำหรับผู้ใหญ่และเด็ก. กรุงเทพมหานคร: บริษัทยูเนียนอุตราไวโอเร็ต จำกัด; 2555.

พัชรี วัฒนชัย และคณะ. ความรุนแรงของโรคหืด พฤติกรรมการจัดการของครอบครัวและการควบคุมอาการของโรคหืดในเด็กของผู้ดูแลในครอบครัว. พยาบาลสาร 2559; 43 (2): 1-12.

Wathanachaporn, P., Aree, P., & Lamchang, S. Asthma severity, family management behavior and asthma symptom control in children among family caregivers.Nursing Journal 2015;43 (2): 1-12.

Rattanarat, K. Mothers’ behavior in care of asthma children 1-5 years, Lang Suan Hospital, Chumphon Province [Master's thesis] Phetchaburi: Phetchaburi Rajabhat University; 2012.

สมบูรณ์ จันทร์สกุลพร และคณะ. ตำราโรคหืด พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจำกัด; 2556.

Knafl, K. A., Deatrick, J. A., & Havill, N. L.Continued development of the family management style framework. Journal of Family Nursing 2012; 18 (1): 11-34.

อรอนงค์ ชาวส้าน และคณะ. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการจัดการของผู้ดูแลเด็กโรคหืด.พยาบาลสาร 2563; 47 (3): 27-39.

Sattabud, M. Asthma knowledge, level of control and quality of life in asthmatic children at Lahansai hospital. Journal of Medicine 2017; 42 (3): 40-46.

Zhao, J., Shen, K., Xiang, L., Zhang, G., Xie, M., Bai, J., & Chen, Q. The knowledge, attitudes and practices of parents of children with asthma in 29 cities of China: a multi-center study. Biomedcentral Pediatrics [Internet]. 2013 [cited 2022 July 3]; 30 (20) [1-6]. Available from: https://bmcpediatr. biomedcentral.com/articles/10.1186/1471-2431-13-20.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-21