พฤติกรรมการบริโภคอาหารและปัจจัยด้านความถี่การบริโภคอาหารของนักศึกษาเพศหญิงที่มีคุณภาพการนอนหลับที่ไม่ดี
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร, ปัจจัยด้านความถี่การบริโภคอาหาร, คุณภาพการการนอนหลับบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารและปัจจัยด้านความถี่การบริโภคอาหารของผู้มีคุณภาพการนอนหลับที่ไม่ดี คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเป็นนักศึกษาเพศหญิงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ที่มีคุณภาพการนอนหลับไม่ดี (PSQI score > 5) โดยมีรูปแบบพฤติกรรมบริโภคอาหารสม่ำเสมอไม่เปลี่ยนแปลงอย่างน้อยเป็นเวลา 1 เดือน จำนวน 11 คน ดำเนินเก็บข้อมูลด้วยเครื่องมือวิจัย 6 ส่วนได้แก่ 1) แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ 2) แบบประเมินความเครียด 3) แบบประเมินภาวะความเหนื่อยล้า 4) แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 5)แบบสอบถามความถี่การบริโภคอาหาร และ 6) การประเมินสัดส่วนร่างกาย ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณภาพการนอนหลับไม่ดี ภาวะเครียดและความเหนื่อยล้า โดยร้อยละ 54 ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีสัดส่วนร่างกายอยู่ในภาวะน้ำหนักเกินจากการประเมินด้วยดัชนีมวลกาย และร้อยละ 73ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีเนื้อเยื่อไขมันเกินเกณฑ์ ทั้งนี้พฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มตัวอย่างบริโภคอาหารเช้าเป็นบางครั้ง และบริโภคเนื้อแดงและสัตว์ปีกเป็นประจำ พฤติกรรมการบริโภคอาหารมื้อเย็นก่อนนอน 1-2 ชม. บ่อยๆ ครั้ง มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการนอนหลับและความเครียดในทิศทางบวก (0.798 และ 0.755 ตามลำดับ, p-value < 0.01) ดังนั้น การปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเป็นปัจจัยส่งเสริมการนอนหลับที่ดีส่งผลต่อการลดความเครียด และความเหนื่อยล้าได้
References
Aminoff MJ, Boller F, Swaab DF. We spend about one-third of our life either sleeping or attempting to do so. Handb Clin Neurol. 2011;98:vii.
Schellekens H, Finger BC, Dinan TG, Cryan JF. Ghrelin signalling and obesity: at the interface of stress, mood and food reward. Pharmacol Ther. 2012;135(3):316-26.
กฤติเดช มิ่งไม้, พิชสุดา เดชบุญ, อภิเชษฐ์ จำเนียรสุข. การสํารวจพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี.รายงานการประชุมวิชาการและนำเสนอผลการวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ กลุ่มระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 7; 2559. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ประเทศไทย); 2559. หน้า 2598-2611.
Sitasuwan T, Bussaratid S, Ruttanaumpawan P, Chotinaiwattarakul W. Reliability and validity of the Thai version of the Pittsburgh Sleep Quality Index. J Med Assoc Thai. 2014;97(3):57-67.
Silpakit O, Silpakit C. A thai version of mindfulness questionnaire: Srithanya Sati scale. East Asian Arch. Psychiatry. 2014;24(1):23–9.
Piper BF, Dibble SL, Dodd MJ, Weiss MC, Slaughter RE. The revise Piper fatigue scale: Psychometric evalution in women with breast cancer. Oncol Nurs Forum. 1998; 25: 677-84.
สุวรรณา เชียงขุนทด และคณะ. รายงานการวิจัยเรื่องความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. นนทบุรี: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; 2557.
งานโภชนาการ โรงพยาบาลธัญรักษ์ปัตตานี. [เข้าถึงเมื่อ 2 พฤษภาคม 2566] เข้าถึงได้จาก: https://tph.go.th/th/news/saraknaru_file/590923101226.pdf
Marra M, Sammarco R, De Lorenzo A, Iellamo F, Siervo M, Pietrobelli A, Donini LM, Santarpia L, Cataldi M, Pasanisi F, Contaldo F. Assessment of Body Composition in Health and Disease Using Bioelectrical Impedance Analysis (BIA) and Dual Energy X-Ray Absorptiometry (DXA): A Critical Overview. Contrast Media Mol Imaging. 2019; 2019:3548284.
Wang J, Chen Y, Jin Y, Zhu L, Yao Y. Sleep quality is inversely related to body mass index among university students. Rev Assoc Med Bras (1992). 2019;65(6):845-850.
Cooper CB, Neufeld EV, Dolezal BA, Martin JL. Sleep deprivation and obesity in adults: a brief narrative review. BMJ Open Sport Exerc Med. 2018;4(1).
Chaput JP, Dutil C, Sampasa-Kanyinga H. Sleeping hours: what is the ideal number and how does age impact this? Nat Sci Sleep. 2018;10:421-430.
สุดารัตน์ ชัยอาจ และพวงพะยอม ปัญญา. การนอนไม่หลับและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. วารสารสภาการพยาบาล. 2548;20(2):1-12.
Chang ZS, Boolani A, Conroy DA, Dunietz T, Jansen EC. Skipping breakfast and mood: The role of sleep. Nutr Health. 2021;27(4):373-379.
Kim H, Jeong G, Park YK, Kang SW. Sleep Quality and Nutritional Intake in Subjects with Sleep Issues According to Perceived Stress Levels. J Lifestyle Med. 2018;8(1):42-49.
Gangwisch JE, Hale L, St-Onge MP, Choi L, LeBlanc ES, Malaspina D, Opler MG, Shadyab AH, Shikany JM, Snetselaar L, Zaslavsky O, Lane D. High glycemic index and glycemic load diets as risk factors for insomnia: analyses from the Women's Health Initiative. Am J Clin Nutr. 2020;111(2):429-439.
Food For Brain [Internet]. Insomnia [เข้าถึงเมื่อ 5 พฤษภาคม 2566]. เข้าถึงได้ จาก: https://foodforthebrain.org/condition/insomnia/
Hirotsu C, Tufik S, Andersen ML. Interactions between sleep, stress, and metabolism: From physiological to pathological conditions. Sleep Sci. 2015;8(3):143-52.
Witbracht M, Keim NL, Forester S, Widaman A, Laugero K. Female breakfast skippers display a disrupted cortisol rhythm and elevated blood pressure. Physiol Behav. 2015;140:215-21.
Iao SI, Jansen E, Shedden K, O'Brien LM, Chervin RD, Knutson KL, Dunietz GL. Associations between bedtime eating or drinking, sleep duration and wake after sleep onset: findings from the American time use survey. Br J Nutr. 2021;127(12):1-10.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น