เปรียบเทียบความสามารถในการทำหน้าที่ สมรรถภาพสมอง และภาวะซึมเศร้า ในผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรัง ระหว่างผู้สูงอายุที่รับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลเขาชะเมาเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา กับผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลในชุมชน
คำสำคัญ:
ความสามารถในการทำหน้าที่, สมรรถภาพสมอง, ภาวะซึมเศร้า, ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังบทคัดย่อ
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ เป็นผลจากกระบวนการชราและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการทำหน้าที่ สมรรถภาพสมอง
ภาวะซึมเศร้า ในผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรัง ระหว่างผู้สูงอายุที่รับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลเขาชะเมาเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา กับผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลในชุมชน ในเขตพื้นที่อำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง กลุ่มละ 52 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบประเมิน ADL, IADL, MMSE และ TGDS วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ Independent Sample T-test
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม ส่วนใหญ่ อายุ 60-69 ปี ได้รับการดูแลกิจวัตรประจำวันจากญาติพี่น้อง มีภาวะพึ่งพิงปานกลาง ร้อยละ 5.80 ผู้สูงอายุที่รับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง มีภาวะสมองเสื่อม ร้อยละ 11.10 ส่วนผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลในชุมชน มีภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 7.70 เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ พบว่า มีเพียงภาวะซึมเศร้า ที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) โดยผู้สูงอายุที่รับบริการในคลินิกโรคเรื้อรัง มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า ดังนั้น จึงควรพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุร่วมกันของชุมชนและโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
References
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2564. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2565.
Bernstein M, Luggen AS. Nutrition for the Older Adults. Massachusetts: Johns & Bartlett; 2010.
Huang W, Ross J, Boockvar K, Siu L. Recent trends in chronic disease, impairment and disability among older adults in the United States. BMC Geriatrics 2011; 11: 1-12.
Gama VE, Damian J, Ruigomez A, Moreno MJ. Chronic disease functional status and self-ascribed cause of disabilities among noninstitutionalized older people in Spain. J Gerontol 2002; 57: 716-21.
Niti M, Ng PT, Kua HE, Ho R, Tan C. Depression and chronic medical illness in Asian older adults: the role of subjective health and functional status. Int J Geriatr Psychiatry 2007; 22: 1087-94.
Alzheimer’s Association. 2018 Alzheimer’s disease facts and figures. Alzheimers Dement 2018; 14(3): 367-429.
World Health Organization (WHO). Global action plan on the public health response to dementia 2017-2025. Geneva: World Health Organization; 2017. Licence: CC By-NC-SA 3.0 IGO. [internet]. [cited 2019 June 18]. Available from: URL:https://apps.who.int/iris/bitstream/
handle/10665/259615/9789241513487-eng.pdf;jsessionid=1464D2203FDF2059DB750 D7A754253FF? sequence=1
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2560. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561.
Institute for Population and Social Research. Population of Thailand 2018. [internet]. 2019 [ cited 2018 August 15]. Available from: http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsrbeta/th/Gazette.aspx.
โครงการสุขภาพคนไทย. สุขภาพคนไทย 2562. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล; 2562.
กิรณานันท์ สนธิธรรม, ทองมี ผลาผล, โชติระวี อินจำปา, ชนิดาวดี สายืน, ณิชพันธุ์ระวี เพ็งพล, วิภาพร จันทนาม. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังในชุมชน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด 2563; 14(2): 192-204.
กัมปนาท สำรวมจิต, สุนีย์ ละกำปั่น, ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการทำหน้าที่ของสมองสำหรับผู้สูงอายุต่อการรู้คิดและพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล 2562; 35(3): 34-45.
สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล. (บรรณาธิการ). การวิเคราะห์ผู้สูงอายุ หลักสำคัญของเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2541: 85-6.
สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ. นนทบุรี: อิสออกัส; 2558.
Wongpakaran, N. Geriatric psychiatry in Thailand. J Psychiatr Assoc Thailand. 2008; 53(Suppl): s39-s46
กนกวรรธ สิทธิวิรัชธรรม, ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์. ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุในเขตเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 2558; 38(4): 11-21.
นงนุช แย้มวงษ์. คุณภาพชีวิตและความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุที่มารับบริการในโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ. Journal of Medicine and Health Sciences 2014; 21(1): 37-44.
เฟย หลี่, วรรณภา ศรีธัญรัตน์, เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์. ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุที่พักอาศัยในชุมชนหนานเหมียน เมืองหนานหนิง มลฑลกวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2555; 30(1): 71-8.
สายสุนีย์ เลิศกระโทก, สุธรรม นันทมงคลชัย, ศุภชัย ปิติกุลตัง. ความชุกของภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลอรพิมพ์ อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2556; 43(1): 42-54.
บุษบา คําสวน. ความชุกของภาวะเสี่ยงต่อสมองเสื่อม และปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุตำบลน้ำรัด อำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่. [สารนิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต]. บัณฑิตวิทยาลัย; เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: 2554.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น