การพัฒนาศักยภาพผู้สูงวัยแบบมีส่วนร่วมภายใต้โรงเรียนสร้างสุข: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองชุมเห็ด อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
คำสำคัญ:
การศักยภาพผู้สูงอายุ, ผู้สูงอายุ, แบบมีส่วนร่วม, ภาวะพฤฒพลังบทคัดย่อ
การพัฒนาศักยภาพผู้สูงวัยที่ครอบคลุมทุกมิติจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาศักยภาพผู้สูงวัยแบบมีส่วนร่วมภายใต้โรงเรียนสร้างสุข ในเขตเทศบาลเมืองชุมเห็ด จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นการวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา (Research and development) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้สูงอายุ และตัวแทนภาคีเครือข่าย 3 กลุ่ม ระหว่างเดือน มิถุนายน ถึง กันยายน 2566 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติพื้นฐาน และสถิติ T-test ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis)
ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้สูงวัยแบบมีส่วนร่วม พบว่าคะแนนเฉลี่ยภาวะพฤฒพลังของผู้สูงอายุของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p-value = 0.05
การพัฒนาศักยภาพผู้สูงวัยทำให้เห็นภาวะพฤฒพลังของผู้สูงอายุในชุมชน ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผน และส่งเสริมพัฒนางานด้านผู้สูงอายุ โดยเฉพาะมิติด้านการสร้างความมั่นคงด้านการเงินและการสร้างอาชีพโดยชุมชนมีส่วนร่วมให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ
References
World Health Organization. Global action plan on the public health response to dementia 2017-2025. Geneva: WHO Document Production Services; 2017.
กรมกิจการผู้สูงอายุ. สถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย 77 จังหวัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562.กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์; 2565.
โครงการสุขภาพคนไทย. จำนวนและสัดส่วนประชากรไทยที่เป็นผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป).สุขภาพคนไทย 2562 นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล; 2562.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. ดัชนีพฤฒพลังผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ; 2566.
จิราพร เกศพิชญวัฒนา และคณะ. รายงานการวิจัยโครงการพฤฒพลัง: กรณีศึกษาจากผู้สูงอายุที่ได้รับการยอมรับในสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ; 2549.
กีรติ กิจธีระวุฒิวงษ์ และนิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์. ทิศทางของการพัฒนาผู้ดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2561; 36(4): 15-24.
ศุภเจตน์ จันทร์สาส์น. พฤฒิพลังของผู้สูงอายุไทย การปันผลทางประชากร และโอกาสทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในสังคมสูงวัย. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา 2555; 4(7) : 201-214.
Polit D, Hungler B. Nursing research: Principle and method 8th ed. Philadelphia: Lippincott Company; 2013.
Thanakwang K, Isaramalai S, Hatthakit, U. Development and psychometric testing of the active aging scale for Thai adults. Clinical Interventions in Aging 2014; 9: 1211-21.
กาญจนา บัตรรัมย์. การเสริมสร้างศักยภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ตำบลหนองหัวแรด อำเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา.วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาสุขภาพชุมชน.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา; 2557.
กิตติวรรณ จันทรฤทธิ์ และคณะ. รูปแบบการดูแลสุขภาพผูสูงอายุโดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย ชุมชนตำบลปาเซา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2562; 14(1): 67-77.
เนตรนิภา จันตระกูลชัย. ผลลัพธ์ของการใช้โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยคริสเตียน; 2557.
ปรเมธี วิมลศิริ. ผลสํารวจสุขภาวะทางกายและใจของผู้สูงอายุ. ศูนย์สํารวจความคิดเห็นทางสังคม โดยสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์; 2562.
กิตติวรรณ จันทรฤทธิ์. รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ชุมชนตำบลปาเซา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ 2562; 14(1): 67-74.
ปัญญเดช พันธ์วัฒน์, สมศักดิ์ ลิลา , สมโภชน์ อเนกสุข. กระบวนการถ่ายทอดทางสังคมด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ. วารสารวิจัย มสด สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 2560; 13(1): 149-170.
Thanakwang K., Soonthorndhada K. Attributes of active ageing among older persons inThailand: evidence from the 2002 survey. Asia-Pacific Population Journal 2006; 21(3): 113-135.
ระวี สัจจโสภณ. แนวคิดทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาภาวะพฤฒิพลังในผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ 2556; 34 (3): 471-490.
ยมนา ชนะนิล, พรชัย จูลเมตต์, นัยนา พิพัฒน์วณิชชา. ภาวะพฤฒพลังของผู้สูงอายุในชุมชน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2563; 30 (2): 83-92.
สุชาดา ทวีสิทธิ์, สวรัย บุณยมานนท์. ประชากรและสังคม : คุณค่าผู้สูงอายุในสายตาสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล; 2553.
เนตรนิภา จันตระกูลชัย. ผลลัพธ์ของการใช้โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยคริสเตียน; 2557.
ดวงเดือน รัตนะมงคลกุล, สมสมัย สังขมณี , สุธีร์ รัตนะมงคลกุล, วิมลวรรณ เลิศวงศ์เผ่าพันธุ์, สิดาภัทร์ สุขฉวี. ภาพสุขภาวะของผู้สูงอายุผ่านมุมมองพฤฒพลังในชุมชนจังหวัดนครนายก. วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สขภาพ 2558; 22(2): 48-60.
สุวรรณา เตชะธีระปรีดา. การบริหารจัดการกิจกรรมนันทนาการเพื่อผู้สูงอายุของเทศบาลตำบลหนองน้ำใส อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ 2557; 3(2): 89-100.
นอรีนี ตะหวา, ปวิตร ชัยวิสิทธิ์. การจัดการสภาพแวดล้อมและที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2559; 5(1): 31-39.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น