แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
โรคพยาธิใบไม้ตับ, แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ, อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านบทคัดย่อ
โรคพยาธิใบไม้ตับเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างต่อเนื่อง การวิจัยภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) กลุ่มตัวอย่าง คือ อสม. ตำบลแห่งหนึ่ง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 84 คน เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา
ผลการศึกษา พบว่า อสม. ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 78.60 อายุเฉลี่ย 56.51 ปี ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิตรวจทุกปี ร้อยละ 66.70 ไม่เคยมีประวัติป่วยเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ ร้อยละ 88.10
มีประวัติการประทานอาหารดิบ ร้อยละ 59.50 และไม่เคยฝึกอบรมเรื่องการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ ร้อยละ 59.50 แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของ อสม. ส่วนใหญ่พบว่า การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคระดับปานกลาง ร้อยละ 90.50 การรับรู้ความรุนแรงของโรคระดับสูง ร้อยละ 56.00 การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันโรคระดับสูง ร้อยละ 81.00 และ
การรับรู้อุปสรรคของการป้องกันโรคระดับต่ำ ร้อยละ 47.60 การอบรมส่งเสริมพัฒนา อสม. ให้มีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพที่ดีทำให้ อสม. สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีของบุคลากรทางด้านสุขภาพ และช่วยลดปัญหาความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคพยาธิไม้ตับในชุมชนได้
References
Pengput A, Schwartz DG. Risk factors for Opisthorchis viverrini infection: A systematic review. J Infect Public Health 2020; 13(9): 1265-73.
Boondit J, Suwannahitatorn P, Siripattanapipong S, Leelayoova S, Mungthin M, Tan-Ariya P, et al. An epidemiological survey of Opisthorchis viverrini infection in a lightly infected community, eastern Thailand. Am J Trop Med Hyg 2020; 102(4): 838-43
Kaewpitoon N, Kaewpitoon SJ, Pengsaa P, Sripa B. Opisthorchis viverrini: the carcinogenic human liver fluke. World J Gastroenterol 2008; 14(5): 666-74.
Sripa B, Tangkawattana S, Laha T, Kaewkes S, Mallory FF, Smith JF, et al. Toward integrated opisthorchiasis control in northeast Thailand: The Lawa project. Acta Trop 2015; 141(Pt B): 361-67.
Saichua P, Sithithaworn P, Jariwala AR, Diemert DJ, Sithithaworn J, Sripa B, et al. Microproteinuria during Opisthorchis viverrini infection: a biomarker for advanced renal and hepatobiliary pathologies from chronic opisthorchiasis. PLoS Negl Trop Dis 2013; 7(5): e2228.
Center of Disease Control and Prevention. (2019). Liver Flukes. [Internet]. [cited 2024 January 25]. Available from: https://www.cdc.gov/parasites/liver_flukes/
Sripa B, Pairojkul C. Cholangiocarcinoma: lessons from Thailand. Curr Opin Gastroenterol 2008; 24(3): 349-56.
Chudthaisong N, Promthet S, Bradshaw P. Risk factors for Opisthorchis viverrini infection in Nong Khai province, Thailand. APJCP 2015; 16: 4593-96.
Hughes T, O'Connor T, Techasen A, Namwat N, Loilome W, Andrews RH, et al. Opisthorchiasis and cholangiocarcinoma in Southeast Asia: an unresolved problem. Int J Gen Med 2017; 10: 227-37.
Wattanayingcharoenchaia S, Nithikathkulb C, Wongsarojc T, Royald L, Reungsange P. Geographic information system of Opisthorchis viverrini in northeast Thailand. Asian Biomed 2011; 5(5): 687-91.
Andrews RH, Sithithaworn P, Petney TN. Opisthorchis viverrini: an underestimated parasite in world health. Trends in Parasitology 2008; 24(11): 497-501.
Sripa B, Bethony JM, Sithithaworn P, Kaewkes S, Mairiang E, Loukas A, et al. Opisthorchiasis and Opisthorchis-associated cholangiocarcinoma in Thailand and Laos. Acta Trop. 2011; 120 Suppl 1(Suppl 1): S158-68.
Xia J, Jiang S-c, Peng H-J. Association between liver fluke infection and hepatobiliary pathological changes: A systematic review and meta-analysis. PLoS ONE 2015;10(7): e0132673.
Saengsawang P, Promthet S, Bradshaw P. Prevalence of OV infection in Yasothon province, northeast Thailand. Asian Pac J Cancer Prev 2012; 13(7): 3399-402.
Kaewpitoon SJ, Rujirakul R, Kaewpitoon N. Prevalence of Opisthorchis viverrini infection in Nakhon Ratchasima province, northeast Thailand. Asian Pac J Cancer Prev 2012; 13(10): 5245-49.
Chuangchaiya S, Navanesan S, Jaichuang S, Rahim MAFA, Idris ZM. Current prevalence of Opisthorchis viverrini infection and associated risk factors in Nakhon Phanom province, northeastern Thailand. Trop Biomed 2020; 37(4): 986-99.
Prakobwong S, Suwannatrai A, Sancomerang A, Chaipibool S, Siriwechtumrong N. A largescale study of the epidemiology and risk factors for the carcinogenic liver fluke Opisthorchis viverrini in Udon Thani province, Thailand. Asian Pac J Cancer Prev 2017; 18(10): 2853-60
Songserm N, Woradet S, Bureelerd O, Charoenbut P. Evaluation of Cholangiocarcinoma risk and its related factors in wetland Geographical communities of Ubon Ratchathani, Thailand. Asian Pac J Cancer Prev 2016; 17(4): 1811-5.
Kaewpitoon N, Kaewpitoon SJ, Pengsaa P. Ophistorchiasis in Thailand: Review and current status. World J Gastroenterol 2008; 14(15): 2297-02.
Srithai C, Chuangchaiya S, Jaichuang S, Idris ZM. Prevalence of Opisthorchis viverrini and its associated risk factors in the Phon Sawan District of Nakhon Phanom province, Thailand. Iran J Parasitol 2021; 16(3): 474-82.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย. (2560). คู่มือมาตรฐานงานสาธารณสุข
มูลฐาน. (ออนไลน์). สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/upload/ebook/column/2018/4/2219_5986.pdf
สุชาดา อินทรกําแหง ณ ราชสีมา, สมตระกูล ราศิริ และธิติรัตน์ ราศิริ. บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขไทย. วารสารวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. 2564; 7(2): 80-97.
นาถยา ขุนแก้ว, อารี บุตรสอน. ปัจจัยทํานายการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 2565; 16(3): 758-771.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining sample sizes for research activities. Educational and Psychological Measurement. 30: 607-610.
Best, J. W., & Kahn, J. V. (1989). Research in education (6th Edition). Englewoods Cliffs, N.J.: Prentice-Hall.
Kaewpitoon S, Kaewpitoon S, Rujirakul R, Wakkuwattapong P, Benjaoran F, Norkaew, et al. Development of a health education modification program regarding liver flukes and Cholangiocarcinoma in high-risk areas of Nakhon Ratchasima province using self-efficacy and motivation theory. Asian Pac J Cancer Prev 2016; 17(6): 2947-51.
ฉัตรชัย คำดอกรับ และเกรียงศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับในประชาชนอายุ 40 ปีขึ้นไป อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร 2561; 21(3): 75-83.
ฉัตรลดา ดีพร้อม และนิวัฒน์ วงศ์ใหญ่. การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพเพื่อการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ ของผู้ที่ตรวจพบไข่พยาธิใบไม้ตับ ตำบลธงธานี อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ 2561; 8(1): 13-26.
เพ็ญประภา แต้มงาม, สมปอง พะมุลิลา, นฤมล สาระคำ และศิรินยา อินแพง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2562; 21(3): 74-85.
Pamorn Darun, Nittaya Klongkayun, Rattikan Darun, Arwut Boontien. Effect of Health Education on Health Perception and Preventive Health Behaviour of Populations at risk of Cholangiocarcinoma in Si Samran Subdistrict, Porncharoen District, Bueng Kan Province, Thailand. Matters of Behaviour 2019; 7(8): 1-5.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น