การพัฒนาการฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลางด้วยกระบวนการทางกายภาพบำบัด
คำสำคัญ:
ผู้ป่วยระยะกลาง, กายภาพบำบัด, การฟื้นฟู, โรคหลอดเลือดสมองบทคัดย่อ
งานวิจัยเชิงปฏิบัติการชิ้นนี้ ทำการศึกษาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโรงพยาบาลเชียงยืน จำนวน 31 ราย คำนวณโดยใช้ G-power แทนค่าตัวแปรโดยอ้างอิงจากงานวิจัยที่สอดคล้องกัน
มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการฟื้นฟูผู้ป่วยระยะกลาง และศึกษาผลของการฟื้นฟูผู้ป่วย
ด้วยกระบวนการทางกายภาพบำบัดแบบเฉพาะเจาะจง กลุ่มตัวอย่างได้รับการฟื้นฟูด้วยโปรแกรม
ทางกายภาพบำบัดแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านเป็นเวลา 6 เดือน ทำการประเมินโดยใช้แบบประเมินคะแนนความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน และระดับความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติ Paired t-test
ผลพบว่า คะแนนความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน และระดับความสามารถในการช่วยเหลือตนเองก่อนและหลังได้รับโปรแกรมกายภาพบำบัด มีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ p-value = 0.00 แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการฟื้นฟูทางกายภาพบำบัด มีส่วนช่วยให้คะแนนความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน และระดับความสามารถในการช่วยเหลือตนเองของกลุ่มตัวอย่างดีขึ้น
ข้อเสนอแนะ สามารถนำโปรแกรมกายภาพบำบัด และระบบการฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองไปใช้ในพื้นที่อื่นที่มีบริบทใกล้เคียงกันได้
References
Department of disease control. Division of Non - Communicable Diseases. Ministry of Public Health. [Internet]. Thaincd.com. [cited 2022 May 23]. Available from: http://thaincd.com/
/mission/documents
Betts KA, Hurley D, Song J, Sajeev G, Guo J, Du EX, et al. Real-world outcomes of acute ischemic stroke treatment with intravenous recombinant tissue plasminogen activator. J Stroke Cerebrovasc Dis [Internet]. 2017 [cited 2022 May16]; 26(9):1996–2003. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih. gov/28689999
Thasanapoonchai D. Stroke signs of the risk of paralysis. [Internet]. 2017 [cited 2022 May 23]. Available from: http:// www.sikarin.com/content/ detail/131/stroke
Cifu D., Stewart D.G. Factors affecting functional outcome after stroke: A critical review of rehabilitation interventions. Arch. Phys. Med. Rehabil 1999;80:S35–S39. doi: 10.1016/S0003-9993(99)90101-6.
Kemmis, S., & McTaggart, R. The action research planner (3rd ed.). Geelong: Deakin University; 1988.
สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล และคณะ. การวิเคราะห์ผู้สูงอายุ. หลักสำคัญของเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2541: 85-6.
Mouawad MR, Doust CG, Max MD, et al. Wii-based movement therapy to promote improved upper extremity function post-stroke: a pilot study. J Rehabil Med 2011; 43: 527-33.
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. มหาวิทยาลัยมหิดล. วิธีการประเมินความสามารถในการช่วยเหลือของผู้ป่วยโดยใช้ Palliative Performance Scale (PPS). [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 สิงหาคม 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.rama.mahidol.ac.th
ณัฐเศรษฐ มนิมนากร. เวชศาสตร์ฟื้นฟู: ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกจากโรคหลอดเลือดสมอง. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา; 2551: 30-6.
เบญจรงค์ ศรีสุระ. กายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองหลังจากจำหน่ายจากโรงพยาบาลสู่ชุมชน: กรณีศึกษา. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม 2562; 16(3): 72-82.
วีระศักดิ์ รัตนชัยฤทธิ์, รุจิรา จันทร์หอม, เสถียรพงษ์ ศิวินา. การพัฒนารูปแบบการบริบาลฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยระยะกลาง (Intermediate Care: IMC) จากโรงพยาบาลสู่ชุมชนเครือข่ายบริการสุขภาพจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ 2565; 2: 119-32.
ศิริพร เผ่าภูธร. พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ได้รับการดูแลระยะกลางอย่างต่อเนื่องถึงที่บ้าน อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา 2566; 1: 311-23.
เขมภัค เจริญสุขศิริ, สิริพิชญ์ เจริญสุขศิริ. คุณภาพชีวิตและสุขภาวะด้านสุขภาพและความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุไทยในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ จังหวัดปทุมธานี. Journal of Associated Medical Sciences 2560; 3: 516-24.
เพียงเพ็ญ บุญมาธรรม. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยโรคร่วมจิตเวชสารเสพติด อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น. วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา 2566; 8: 37-41.
Xiaowei Chen, Fuqian Liu, Zhaohong Yan, Shihuan Cheng, Xunchan Liu, He Li , Zhenlan Li, Therapeutic effects of sensory input training on motor function rehabilitation after stroke, Medicine 2018 Nov 30; 97(48): e13387.
Mahoney Fl, Barthel DW. Functional evaluation: The Barthel index. Maryland State Medical Journal 1965; 14: 61-65.
สายใจ นกหนู, จุฑามาศ ทองบุญ, มณีภรย์ บกสวัสดิ์. การพัฒนาโปรแกรมให้ความรู้ในการทำกายภาพบำบัดแก่ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11 2560; 31: 667-76
ธัญลักษณ์ ขวัญสนิท. ผลการพัฒนาระบบฟื้นฟูระยะกึ่งเฉียบพลัน (Sub-acute rehabilitation) ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11 2560; 31: 723-32.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น