การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยถอดท่อช่วยหายใจหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรม โรงพยาบาลสงขลา
คำสำคัญ:
รูปแบบการพยาบาล, ผู้ป่วยถอดท่อช่วยหายใจบทคัดย่อ
การวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์ พัฒนาและประเมินผลการใช้รูปแบบการพยาบาลผู้ป่วย
ถอดท่อช่วยหายใจ หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤตอายุรกรรมโรงพยาบาลสงขลา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจทางปาก 65 คน และพยาบาลวิชาชีพ 19 คน เครื่องมือ ได้แก่ รูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยถอดท่อช่วยหายใจ แบบสัมภาษณ์สภาพปัญหาอุปสรรคในการการพยาบาล แบบสังเกตการพยาบาล แบบประเมินความยาก-ง่าย ของการนำไปใช้ประโยชน์ และความเป็นไปได้ แบบประเมินความพึงพอใจและแบบบันทึกผลลัพธ์การพยาบาลผู้ป่วยถอดท่อช่วยหายใจ วิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการพยาบาลแบบเดิม ไม่มีแนวทางที่ชัดเจน หลังพัฒนาได้รูปแบบ
การพยาบาลเป็น 3 ระยะ คือ ก่อนถอดท่อ ระหว่างถอดท่อ และหลังถอดท่อช่วยหายใจ ผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย ความสำเร็จการถอดท่อช่วยหายใจ ร้อยละ 96.92 ด้านพยาบาล ปฏิบัติตามรูปแบบการพยาบาล ร้อยละ 100 ความยาก-ง่าย โดยรวมอยู่ในระดับง่ายมาก ( = 3.75, S.D.= 0.24) การนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งหมด
(= 3.68, S.D.= 0.31) และความพึงพอใจโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (
= 4.82, S.D.= 0.35)
ข้อเสนอแนะ: รูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยถอดท่อช่วยหายใจ สามารถไปใช้ในหน่วยงานที่มีผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจได้ โดยอาจปรับเปลี่ยนตามบริบท
References
สุทัศน์ รุ่งเรืองหิรัญญา. Basic principles of critical care. ใน สุทัศน์ รุ่งเรืองหิรัญญา, เพชร วัชรสินธุ์, ภัทริน ภิรมย์พานิช, ชายวุฒิ สววิบูลย์, ณับพลิกา กองพลพรหม. (บรรณาธิการ), ICU survival guidebook (พิมพ์ครั้งที่ 2, น. 2-8). นครปสินทวีกิจ พริ้นติ้ง; 2563.
Kiekkas P, Aretha D, Panteli E, Baltopoulos G & Filos KS. Unplanned extubation in critically ill adults: clinical review. Nurs Crit Care 2012; 18(3): 123-34.
Jonathan Elmer, Sean Lee, Jon C Rittenberger, James Dargin, Daniel Winger & Lillian Emlet. Critical Care; 2015. doi: 10.1186/s13054-014-0730-7.
Tanaka A, Kabata D, Hirao O, Kosaka J, Furushima N, Maki Y, et al. Prediction model of extubation outcomes in critically ill patients: a multicenter prospective cohort study. [internet]. J Clin Med; 2022. Available from: https://doi.org/10.3390/jcm11092520.
Nitta, K., Okamoto, K., Imamura, H., Mochizuki, K., Takayama, H., Kamijo & Satiu. T. A comprehensive protocol for ventilator weaning and extubation: a prospective observational study. Journal of Intensive Care 2019; 7: 50.
โรงพยาบาลสงขลา. (2566). สถิติจากเวชระเบียนโรงพยาบาลสงขลา ปีงบประมาณ 2566.
มานะ ปัจจะแก้ว. ปัจจัยทำนายผลลัพธ์ของการถอดท่อช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตหอผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลสิงห์บุรี [วิทยานิพนธปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรังสิต; 2560.
ทองเปลว ชมจันทร์, ปาริชาติ ลิ้มเจริญ, อำภาพร นามวงศ์พรหม และน้ำอ้อย ภักดีวงศ์.ผลของการใช้แนวปฏิบัติในการถอดท่อช่วยหายใจต่ออัตราความสำเร็จในการถอดท่อช่วยหายใจและความพึงพอใจของพยาบาลในการใช้แนวปฏิบัติ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ สสอท. 2020; 2(1): 58-76.
สุนิศา บุตรขุนทอง, สมนึก โสรจแสง, รัตนา วัฒนศรี และทรงพร นารินทร์. การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการป้องกันการใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำในผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบรุนแรง โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์. เชียงรายเวชสาร 2565; 14 (2): 56-74.
Li W, An X, Fu M & Li C. (2016). Emergency treatment and nursing of children with severe pneumonia complicated by heart failure and respiratory failure. 12 (4): 2145–9.
National Health and Medical Research Council. The Medical journal of Australia 2022; 220 (2).
ทนันชัย บุญบูรพงศ์. การบำบัดระบบหายใจในเวชปฏิบัติ.พิมพ์ครั้งที่ 8.กรุงเทพฯ: ปัญญมิตร การพิมพ์; 2561.
Sricharoenchai T. High flow nasal cannula uses. In: Staworn D, Piyavechviratana K, Poonyathawon S, editors. ICU everywhere. Bangkok: The Thai Society of Critical Care Medicine 2018; p.18-41.
Hyzy, R. C., Manaker, S., & Finlay, G. Extubation management in the adult intensive care unit. [internet]. 2019 [cited 2019 Dec 18] Available from https://www.uptodate.com/contents/extubation
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น