ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy)
คำสำคัญ:
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, สุขศึกษา, การส่งเสริมสุขภาพบทคัดย่อ
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy) เป็นทักษะต่างๆทางการรับรู้และทางสังคมซึ่งเป็นตัวกำหนดแรงจูงใจและความสามารถของปัจเจกบุคคลในการที่จะเข้าถึง เข้าใจและการใช้ข้อมูลในวิธีการต่างๆเพื่อส่งเสริมและบำรุงรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ เป็นทักษะที่มีความจำเป็นสำหรับบุคคลในการดูแลสุขภาพของตนเอง เป็นผลลัพธ์ขั้นสูงของกระบวนการทางสุขศึกษาร่วมกับการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพให้อยู่ในระดับสูง ช่วยเพิ่มทักษะชีวิต ส่งผลเกื้อหนุนสุขภาพของปัจเจกบุคคลและชุมชน อาจกล่าวได้ว่าการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็นวิธีการหนึ่งในการส่งเสริมสุขภาพ
References
1. World Health Organization. Concepts and Examples in the Eastern Mediterranean Region. Individual Empowerment Conference Working Document. 7th Global Conference on Health Promotion Promoting Health and Development. Nairobi, Kenya. 2009.
2. Nutbeam D. Health promotion glossary. Health Promotion International. 1998;13:349-64.
3. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. นิยามศัพท์ส่งเสริมสุขภาพ. ฉบับปรับปรุง นนทบุรี. . 2541.
4. ขวัญเมือง แก้วดำเกิง. เจาะลึก Health literacy. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสุขศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 เรื่อง "การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ยุค 40" วันที่ 18-20 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท เมืองพัทยา ชลบุรี. 2560.
5. World Health Organization. The Health Literacy Toolkit for Low and Middle Income Countries. A series of information sheet to help empower communities and strenghthen health systems. Regional Office of South East Asia. 2015.
6. World Health Organization. Health promotion glossary. Division of Health Promotion, Education and Communications, Health Education and Health Promotion Unit, WHO Geneva. 1998:1-10.
7. Nutbeam D. Health literacy as a public health goal: a challenge for contemporary health education and communicaation strategies into health 21th century. Health Promotion International, Printed in Great Britain. 2000;15(8).
8. World Health Organization. Ottawa Charter for Health Promotion. WHO. 1986.
9. World Health Organization. Regional Office for the Eastern Mediterranean. 2012.
10. ขวัญเมือง แก้วดำเกิงและนฤมล ตรีเพชรศรีอุไร. ความฉลาดทางสุขภาพ. กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. โรงพิมพ์นิวธรรมดาการพิมพ์ จำกัด. กรุงเทพ. พิมพ์ครั้งแรก 2554 หน้า 17-19.
2. Nutbeam D. Health promotion glossary. Health Promotion International. 1998;13:349-64.
3. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. นิยามศัพท์ส่งเสริมสุขภาพ. ฉบับปรับปรุง นนทบุรี. . 2541.
4. ขวัญเมือง แก้วดำเกิง. เจาะลึก Health literacy. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสุขศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 เรื่อง "การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ยุค 40" วันที่ 18-20 พฤษภาคม 2560 ณ โรงแรมจอมเทียนปาล์มบีช โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท เมืองพัทยา ชลบุรี. 2560.
5. World Health Organization. The Health Literacy Toolkit for Low and Middle Income Countries. A series of information sheet to help empower communities and strenghthen health systems. Regional Office of South East Asia. 2015.
6. World Health Organization. Health promotion glossary. Division of Health Promotion, Education and Communications, Health Education and Health Promotion Unit, WHO Geneva. 1998:1-10.
7. Nutbeam D. Health literacy as a public health goal: a challenge for contemporary health education and communicaation strategies into health 21th century. Health Promotion International, Printed in Great Britain. 2000;15(8).
8. World Health Organization. Ottawa Charter for Health Promotion. WHO. 1986.
9. World Health Organization. Regional Office for the Eastern Mediterranean. 2012.
10. ขวัญเมือง แก้วดำเกิงและนฤมล ตรีเพชรศรีอุไร. ความฉลาดทางสุขภาพ. กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. โรงพิมพ์นิวธรรมดาการพิมพ์ จำกัด. กรุงเทพ. พิมพ์ครั้งแรก 2554 หน้า 17-19.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
2018-02-19
ฉบับ
บท
บทความปริทัศน์ (Review article)
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทันตาภิบาล