ประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองเพื่อ ป้องกันโรคเหงือกอักเสบในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร

ผู้แต่ง

  • สรวงสุดา บูชา โรงพยาบาลเต่างอย
  • สุขสมัย สมพงษ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

คำสำคัญ:

ความสามารถของตนเอง, การดูแลทันตสุขภาพ, คราบจุลินทรีย์

บทคัดย่อ

               Gingivitis in adolescence remains a major dental health problem in Thailand. A sustainable solution is to develop dental health for grade nine secondary school students.This study was a quasi-experimental design aimed to test the effectiveness of dental health education program by application of self efficacy theory on gingivitis prevention of grade nine secondary school students in Tao Ngoi District, Sakon Nakhon Province. The samples were 73 students; 37 in the experimental group and 36 in the comparison group. The experimental group received dental health education program. Data collection was done with in 7 weeks by interview, plaque record and the assessment of skill performance. Statistics used for data analysis were percentage, means and standard deviations. Independent t-test was used to compare mean with difference group.

              The results of the study showed that the experimental group had mean scores of knowledge, self-efficacy, outcome expectation, tooth brushing skill, simply self dental examination were increased significantly than before experiment and comparison group (P < 0.001). The mean score of dental plaque was decreased significantly than before experiment and comparison group (P < 0.001).

              These results show that dental health education program by applied of self-efficacy theory affected Grade Nine Secondary School Students with better to develop dental health care.

Author Biographies

สรวงสุดา บูชา, โรงพยาบาลเต่างอย

นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

สุขสมัย สมพงษ์, คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

รองศาสตราจารย์พิเศษ

References

1. กองทันตสาธารณสุข. รายงานผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2549-2550. กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข;2551.

2. กมลทิพย์ สุขสันติสกุลชัย. เอกสารประกอบการสอนวิชาทันตกรรมป้องกัน. พิมพ์ครั้งที่ 5. วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น;2551.

3. สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 7. สำนักพิมพ์งานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก: กรุงเทพฯ, 2555.

4. กองทันตสาธารณสุข. รายงานผลการสำรวจสภาวะช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2555. โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก กรุงเทพฯ.ครั้งที่ 5;2556.

5.วิริยา สุขวงศ์. การศึกษาชุมชน. ภาควิชาสุขศึกษา คณะพละศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.กรุงเทพฯ;2540.

6. พิสมัย จันทวิมล. นิยามศัพท์ส่งเสริมสุขภาพ พิมพ์ครั้งที่ 2. โครงการตําราสํานักพิมพ์สถาบันระบบสาธารณสุข นนทบุรี;2541.

7. สิริลักษณ์ รสภิรมย์. ประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถตนเองที่มีต่อพฤติกรรมทันตสุขภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ;2556.

8. กุลชาติ วัฒนวงศ์เวฬุวนารักษ์. ผลของการประยุกต์ใช้ทฤษฎีความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคเหงือกอักเสบในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตำบล เมืองแคน อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการระบบสุขภาพ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม;2555.

9. Bandura, A. Self-Efficacy : Toward a Unifying of Behavior Change Psychological. New York: Holt, Rincchart and Winson;1977.

10. ปัญนี กิตติพงศ์พิทยา. การประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเอง เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพในนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 อำเภออรัญประเทศ จังหวัด สระแก้ว. Journal of Health Education January - April 2008 Vol. 31 No. 108;2552.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-10-09

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research article)