การจัดการความรู้ในยุคประเทศไทย 4.0 ทุกระดับในองค์กร อย่างมีความสุข เพื่อการพัฒนาองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนที่ยั่งยืน
คำสำคัญ:
knowledge management, Thailand 4.0, organization developmentบทคัดย่อ
การจัดการความรู้ทุกคนที่ทำงานในองค์กรภาครัฐและเอกชน มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะความชำนาญและความเชี่ยวชาญในงานของตนเองได้เป็นอย่างดี สามารถเชื่อมโยงงานให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่องานที่รับผิดชอบ นำความรู้ที่ได้จากการทำงานมาพัฒนาและต่อยอดเป็นองค์ความรู้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง องค์กร ชุมชน สังคมและประเทศชาติได้ จากการรวบรวบวรรณกรรมสิ่งที่สำคัญของหัวใจการจัดการความรู้อยู่ที่การนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เมื่อนำการจัดการความรู้มาประยุกต์ใช้กับประเทศไทย 4.0 โมเดลใหม่ของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศไทยที่มุ่งปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เพื่อก้าวข้ามกับดักประเทศไทยรายได้ปานกลาง เมื่อบริบททางเศรษฐกิจเกดการเปลี่ยนแปลง ทำให้ผู้ประกอบการโดยเฉพาะผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมการผลิตต้องปรับตัว เพื่อให้ธุรกิจอุตสาหกรรมสามารถเติบโตท่ามกลางบริบทใหม่ทางเศรษฐกิจได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน โดยยึดหลักการจัดการความรู้ควบคู่ความสุขของคนในองค์กร ให้สามารถใช้ศักยภาพที่มีอยู่ให้เต็มที่อย่างมีระบบที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน สังคม และประเทศไทย 4.0 ที่ยั่งยืนและแข่งขันกับต่างประเทศได้
References
2. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้.[ อ้างเมื่อ 7 มกราคม 2562] จากhttps://opdc.go.th/
3. ศูนย์ความรู้กลาง กรมประทาน. 7ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.[ อ้างเมื่อ 7 มกราคม 2562] จากhttps://kmcenter.rid.go.th/kcsecret/images/z4.pdf ,2550.
4. ณพศิษฏ์ จักรพิทักษ์. ทฤษฎีการจัดการความรู้.กรุงเทพฯ: ธนาเพรส จำกัด,2552.
5. กรมการปกครอง สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยกระทรวงมหาดไทย.การจัดการความรู้.[ ออนไลน์ ] 2562 [ อ้างเมื่อ 9 มกราคม 2562] จากhttps://km.moi.go.th/
6. Phichet Banyati. การจัดการความรู้(Knowledge Management) [ ออนไลน์ ] 2562 [อ้างเมื่อ 19 มกราคม 2562].: จากhttps://www.dmsc.moph.go.th/secretary/finance/userfiles/files/HandoutKM_phichet_Banyati.pdf
7. สถาบันมะเร็งแห่งชาติ.หัวใจการจัดการความรู้.[ ออนไลน์ ] 2562 [อ้างเมื่อ 19 มกราคม 2562] จากhttps://www.kmnci.com/km/
8. ประเวศ วะสี. ยุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้ของชุมชนในทศวรรษใหม่,2548.(ม.ป.ท.).
9. บดินทร์ วิจารณ์. การจัดการความรู้ (KM) สิ่งสำคัญมันอยู่ที่การลงมือปฏิบัติ. เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการ6 สิงหาคม 2548 ณคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2548.(เอกสารอัดสำเนา)
10. ชมพูนุท สิริพรหมภัทร. วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน(พิมพ์ครั้งที่1).ขอนแก่น: (ม.ป.ท.),2555.
11. ชมพูนุท สิริพรหมภัทร,กิรณา แต้อารักษ์ &ยลฤดี ตัณฑสิทธิ์. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ในงานสาธารณสุข ยุคประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุขบริบทภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพสาธารณสุขชุมชน พ.ศ.2556. วารสารทันตาภิบาล,2560, 28 (2), 134-141.
12. ManpowerGroup Thailand. การสร้างความสุขในที่ทำงาน.[ ออนไลน์ ] 2562 [อ้างเมื่อ 19 มกราคม 2562] จากhttps://www.manpowerthailand.com.
13. Donald B fedor, Soumen Ghosh, Steven D Caldwell, Todd J Maurer &Vinod R Singhal. The effects of knowledge management on team member’s ratings of project success and impact [homepage on the internet ]. 2019. [ cited 2019 May 20 ]. Available from:https://onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.1111/j.1540-5414.2003.02395.x
14. Sheng Wang, Raymond A Noe. Knowledge sharing: A review and directions for future research [homepage on the internet ] .2019. [cited 2019May20] Available from https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S1053
482209000904?via%3Dihub.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทันตาภิบาล