ทันตสุขศึกษากับการส่งเสริมทันตสุขภาพ

ผู้แต่ง

  • อรวรรณ นามมนตรี ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษด้านการสอน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น

คำสำคัญ:

ทันตสุขศึกษา, การส่งเสริมทันตสุขภาพ

บทคัดย่อ

          สุขศึกษากับส่งเสริมสุขภาพมีความใกล้ชิดสนิทสนมกัน แต่ แนวคิดและจุดมุ่งหมายสำคัญของการดำเนินงานมีความแตกต่าง กัน หลายๆครั้งพบว่านักสาธารณสุขยังมีความสับสนและติดกับอยู่กับการให้สุขศึกษาแต่คิดว่าเป็นเรื่องของการส่งเสริมสุขภาพ อีกทั้ง ได้มีการออกแบบสร้างโปรแกรมโดยเชื่อว่าเป็นการส่งเสริมสุขภาพ แต่ท้ายที่สุดก็เป็นเพียงแค่การให้ทันตสุขศึกษา เพียงแต่อาจดำเนินการผ่านรูปแบบที่หลากหลายและใช้แบบทดสอบความรู้เป็นเครื่องมือประเมินผล กว่า 20 ปีที่ผ่านมามีหลักฐานเชิงประจักษ์แล้วว่า ความรู้เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะนำพาให้บุคคลหรือชุมชนก้าว ไปสู่การมีสุขภาพดี การส่งเสริมสุขภาพซึ่งมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยน สิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดีและเพิ่มขีดความสามารถของ บุคคลในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่รอบตัวเพื่อดูแลสุขภาพของตนเอง และชุมชนต่างหาก เป็นกลวิธีสำคัญในการพัฒนาสุขภาพ

References

1. WHO. The Ottawa Charter for Health Promotion. Geneva: World Health Organizaion;1986.

2. Eriksson M, Lindstrom B. A salutogenic interpretation of the Ottawa Charter. Health Promot Int. 2008;23(2):190-9.

3. Joint Committee on Terminology. Report of the 2000 Joint Committee on Health Education and Promotion Terminology. Am J Health Educ, 2001;32(2):89-103.

4. Antonovsky A. Health, stress and coping. London: Jossey-Bass;1979.

5. Antonovsky A. The salutogenic model as a theory to guide health promotion. Health Promot Int. 1996;11(1):11-8.

6. Brown LF. Research in dental health education and health promotion: A review of the literature. Health Educ Behav. 1994;21:83-102.

7. Kay L, Locker D. Is dental health education effective? A systematic review of current evidence. Community Dent Oral. 1996;1996(24):231-5.

8. Watt RG. Strategies and approaches in oral disease prevention and health promotion Bull World Health Organ. 2005;83:711-8.

Downloads

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research article)