ผลจากโปรแกรมพัฒนาทักษะการดูแลทันตสุขภาพของครูพี่เลี้ยง ต่อทักษะการดูแลทันตสุขภาพของครูพี่เลี้ยงให้แก่เด็กก่อนวัยเรียน ในสถานรับเลี้ยงและพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน กรณีศึกษา สถานรับเลี้ยงและพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • รัชนีวรรณ ภูมิสะอาด ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น
  • วรยา มณีลังกา ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น
  • รุ่งเพชร ยิ่งยงไพศาลกุล ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น
  • วงศ์วฤณ แสงศิรินาคะกุล ทันตแพทย์ชำนาญการ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น

คำสำคัญ:

เด็กก่อนวัยเรียน, ครูพี่เลี้ยง, โปรแกรมพัฒนาทักษะ, ทันตสุขภาพ

บทคัดย่อ

          ผลจากโปรแกรมพัฒนาทักษะการดูแลทันตสุขภาพของครูพี่เลี้ยง ต่อทักษะการดูแลทันตสุขภาพของครูพี่เลี้ยงให้แก่เด็กก่อนวัยเรียนในสถาน รับเลี้ยงและพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน กรณีศึกษา สถานรับเลี้ยงและพัฒนาเด็ก ก่อนวัยเรียน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ (Qualitative research) ใช้แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประชากรคือ ครูพี่เลี้ยงจำนวน 9 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลจาก โปรแกรมพัฒนาทักษะการดูแลทันตสุขภาพของครูพี่เลี้ยงให้แก่เด็กก่อน วัยเรียน

         ผลจากการวิจัย พบว่า หลังจากผ่านการอบรมโดยใช้โปรแกรมพัฒนา ทักษะการดูแลทันตสุขภาพ ครูพี่เลี้ยงมีทักษะการดูแลทันตสุขภาพ เพิ่มขึ้น ในทุกด้าน คือ การแปรงฟันสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนมีเพิ่มขึ้น ทักษะการตรวจ ฟันมีเพิ่มขึ้น การเลือกตำรับอาหารและอาหารว่างที่มีประโยชน์ไม่ก่อให้ เกิดฟันผุมีเพิ่มขึ้น และ การให้คำแนะนำผู้ปกครองให้ดูแลเด็กเมื่ออยู่บ้าน มีเพิ่มขึ้น

References

1. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. รายงานผลการ สำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 6 ประเทศไทย พ.ศ. 2549-2550. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก;2551.

2. กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น. แบบสรุปผลการสำรวจระดับ จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ 2550.[ออนไลน์]2552[อ้างเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2552] จากhttps://mx.kkpho.go.th/dental index. php?option=com_content&task=view&id= 42&Itemid=58

3. วิไลลักษณ์ บังเกิดสิงห์, บุบผา ไตรโรจน์, สุรางค์ เชษฐพฤนท์. เด็กๆฟันดีมีสุขภาพแข็งแรง สำหรับครูอนุบาล ผู้ดูแลเด็กและพี่เลี้ยงเด็ก. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข;2545.

4. สุรางค์ เชษฐพฤนท์, บุบผา ไตรโรจน์, จิตรา เสงี่ยมเฉย. ข้อมูลที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ปี 2547. กลุ่มสร้างเสริมทันตสุขภาพ กองทันตสาธารณสุข;2547.

5. สุณี วงศ์คงคาเทพ และคณะ. รูปแบบการส่งเสริม สุขภาพช่องปากผสมผสานเพื่อลดปัญหาการ เกิดฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัย. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข;2548.

6. นงนุช อาคาสุวรรณ. รายงานวิจัย การศึกษาระดับ ความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับ ทันตสุขภาพของ ผู้ดูแลเด็กก่อนวัยเรียน ในจังหวัดสงขลา;2542.

7. พันทิวา ศรีศุกร และ วิลาวัลย์ วีระอาชากุล. รายงาน วิจัยการ ศึกษาพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพ ในกลุ่มผู้ดูแลเด็กและครูพี่เลี้ยงต่อเด็กวัยก่อนเรียน จังหวัดอุดรธานี;2542.

8. Richard R.Welbury, Monty S.Duggal and Marie-Therse Hosey. Pediatric Dentistry Third Edition. Oxford University Press;2005:131-9.

9. Robert J.Berkowitz. Causes, Treatment and Prevention of Early Childhood Caries: A Microbiologic Perspective. J Can dent Assoc 2003;69(5):304-7.

10. Jimmy R. Pinkham.et al. Pediatric Dentistry Infancy Through Adolescence. Fourth Edition. Elsevier saunders;2005:284-6.

11. สุทธาทิพย์ เมืองสุข. รายงานการวิจัยการพัฒนา โปรแกรมฝึกอบรมผู้ให้การเลี้ยงดูเด็กโดยการ ปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง เรื่องการอบรมเลี้ยงดูเด็กวัยทารกเป็นกลุ่มในสถานรับเลี้ยงเด็กบ้านเด็กจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;2542.

Downloads

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research article)