การยศาสตร์กับการบาดเจ็บทางทันตกรรม
คำสำคัญ:
การยศาสตร์, ทันตกรรมบทคัดย่อ
ในราวศตวรรษที่ 18 แพทย์พบว่า บุคคลทำงานที่ปฏิบัติงานในท่าเดิม เป็นเวลานาน ทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก ภายหลังแพทย์ พบว่าการใช้หลักการยศาสตร์ในสถานที่ทำงานสามารถลดการบาดเจ็บจาก การทำงานดังกล่าวได้ บุคคลทำงานและสถานจ้างงานไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ไปกับการรักษาพยาบาล บุคคลทำงานเองก็มีความสุขกับการทำงานมากขึ้น ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานอย่างยิ่ง
References
1. David W. Hiipakka. Ergonomic Applications to Dental Practice. [cited 2010 May ]. Available from: http://www.brooks.af.mil/AL/AO/AOC/AOCD/dis-home.html
2. G.F.McVey. Ergonomics and the Learning Envi ronment. Boston University;1990.
3. Ergonomics for Dental Student, American den tal Association. 2008. [cited 2010 August 20]. Available from : http://www.ada.org/sections/educationandcareers/pdfs/ergonomics.pdf
4. An introduction to Ergonomics: Risk Factors MSDs, Approaches and Interventions. Ameri can dental Association. 2004. [cited 2010 August 20]. Available from www.ergostoreonline. com/media/topics_ergonomics_paper.pdf
2. G.F.McVey. Ergonomics and the Learning Envi ronment. Boston University;1990.
3. Ergonomics for Dental Student, American den tal Association. 2008. [cited 2010 August 20]. Available from : http://www.ada.org/sections/educationandcareers/pdfs/ergonomics.pdf
4. An introduction to Ergonomics: Risk Factors MSDs, Approaches and Interventions. Ameri can dental Association. 2004. [cited 2010 August 20]. Available from www.ergostoreonline. com/media/topics_ergonomics_paper.pdf
Downloads
ฉบับ
บท
บทความปริทัศน์ (Review article)
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทันตาภิบาล