Use of herbal product for the treatment of oral diseases

Authors

  • สมตระกูล ราศิริ Lecturer, Senior professional level, Sirindhorn College of Public Health Phitsanulok Province
  • ยลฤดี ตัณฑสิทธิ์ Lecturer, Senior professional level, Sirindhorn College of Public Health Khon Kaen Province
  • ธิติรัตน์ ราศิริ Public Health Technical Officer, Professional Level, Sirindhorn College of Public Health Phitsanulok Province
  • นิพนธ์ แก้วต่าย Pharmacist, Senior professional level, Sirindhorn College of Public Health Phitsanulok Province

Keywords:

herbs, oral diseases

Abstract

            The oral diseases are still a major problem in the sector of public health. If human cannot eat it will make the body pale and no force in daily life. Thai people in the past used herbs to treat various diseases, including oral disease. This study emphasized the benefits of herbs that could be used in oral health to prevent tooth decay, relieve inflammation in the mouth and reduce the inflammation that causes gingivitis in accordance with the current public interest in herbs.

          Collection of research on properties of herbs that affect oral health involved the total of 18 research papers. They were divided into 5 categories 1) destroy the bacteria that causes dental caries such as Streptococcus mutans , including all 7 types for instance Streblus asper, Garcinia mangostana Linn, Senna alete, Andrographis paniaulata, Barleria lupulin, Psidium guajiva and Centella asiatica 2) relieve inflammation in the mouth, involving 2 types of aloe vera and Acmella oleracea 3) anti-inflammatory herbs that cause gingivitis such as Streblus asper and Cymbopogon citrates 4) inhibits the adhesion of C.albicans such as Streblus asper and Cymbopogon citrates 5) use for treatment of periodontal diseases such as Streblus asper.

 

References

1. กรรัตน์ อินทรหนองไผ่. ผลทางคลินิกและทางจุลชีววิทยาของการใช้สารสกัดจากใบข่อยฉีดล้างในร่องลึกปริทันต์ร่วมกับการขูดหินน้ำลายและเกลารากฟันในผู้ป่วยโรคปริทันต์อักเสบเรื้อรังในระยะคงสภาพ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปริทันตวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2547.

2 พรพรรณ ก่อเกียรติ. ความปลอดภัยทางคลินิก ผลทางคลินิกและทางจุลชีววิทยาของการใช้เจลผสมสารสกัดจากใบข่อยใส่ลงไปในร่องลึกปริทันต์ของฟันกรามร่วมกับการขูดหินน้ำลายและเกลารากฟันในผู้ป่วยโรคปริทันต์อักเสบเรื้อรัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปริทันตวิทยา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2551.

3. พิชญา สุทินฤกษ์. ผลการด้านการอักเสบและการละลายตัวของกระดูกของสารสกัดจากใบข่อยในเซล์สร้างเส้นใยเหงือกมนุษย์ต่อการกระตุ้นด้วยเชื้อก่อโรคปริทันต์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปริทันตวิทยา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2552.

4. วยุรี จุมพลหล้า. ผลของสารสกัดจากใบข่อยต่อการตอบสนองการอักเสบโดยเซลล์สร้างเส้นใยเหงือกมนุษย์ที่ถูกระตุ้นด้วยเชื้อพอร์ไฟโรโมแนสจิงจิวาลิส. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปริทันตวิทยา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2556.

5. สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ์ ปรมาภรณ์ กลั่นฤทธิ์ โสพิศ วงศ์คำ และคณะ รายงานการวิจัยเรื่องผลของสารสกัดจากใบข่อยต่อการเกาะของเชื้อราแคนดิตา อัลบิเคนส์บนพื้นผิวอะคริลิกขอนแก่น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2547.

6. สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ์ โสพิศ วงศ์คำ สุภาภรณ์ เจริญสุข และคณะ. ผลของสารสกัดจากใบข่อยที่ผสมในน้ำกลั่นต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของน้ำลายและจำนวนเชื้อจุลชีพในช่องปาก ขอนแก่น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2541.

7. สุวิมล ทีวชัยศุภพงษ์ โสพิศ วงศ์คำ อารียา รัตนทองคำ และคณะ. รายงานการวิจัยเรื่องผลของการใช้น้ำยาบ้วนปากผสมสารสกัดจากใบข่อยต่อน้ำลายและเชื้อจุลินทรีย์ที่สัมพันธ์กับโรคฟันผุ ขอนแก่น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2542.

8. โสพิศ วงศ์คำ เกษแก้ว เพียรทวีชัย พิสมัย เหล่าภัทรเกษม และคณะ. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องการศึกษาผลของสารสกัดข่อยต่อเชื้อจุลินทรีย์ในช่องปาก. ขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2538.

9. ยลฤดี ตัณฑสิทธิ์ เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ อมร วัฒนธีรางกูร. พืชผักและสมุนไพร เพื่อสุขภาพในช่องปากที่ดี . วารสารทันตาภิบาล 2557; 25 (2): 91-2.

10 วารดิถี มังคลแสน. ผลของแกรนูลฟู่น้ำมันตะไคร้ต่อการยึดเการะของเชื้อแคนดิดา อัลบิแคนส์กับฟันเทียมอะคริลิกและการทดสอบทางคลินิก. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมประดิษฐ์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2553.

11. สุรศักดิ์ โกมาลย์. การทดลองทางคลินิกของผลิตภัณฑ์แช่ฟันเทียมจากน้ำมันตะไคร้ในรูปแบบสารละลายเข้มข้นต่อการต้านเชื้อแคนดิดาบนฐานฟันเทียมอะคริลิก. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมประดิษฐ์. บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2555.

12. ปานตา ตรีสุวรรณ. ผลของสารสกัดโพลิฟีนอลจากเปลือกมังคุดในรูปแบบตำรับเจลที่มีส่วนผสมของปาเปนต่อการยับยั้งเชื้อสเตร็ปโตคอคคัสมิเทนส์ ในห้องปฏิบัติการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมสำหรับเด็ก. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2555.

13. เจริญ ชุณหกาญจน์ พลอยทราย บุศราคำ อังอร ศรีพานิชกุลชัยและคณะ. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่องความสัมฤทธิ์ของว่านหางจระเข้ในการรักษาโรคไลเคนแพลนนัสในช่องปาก. ขอนแก่น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2547.

14. รสสุคนธ์ สุคนประดิษฐ์. การตั้งตำรับและการทดสอบความคงสภาพของเจลผักคราดหัวแหวนเพื่อใช้ในช่องปาก. วิทยานิพนธ์ เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีแภสัชกรรม. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2548.

15. จันทร์ผล ผิวเรือง. ผลต่อเชื้อเสตร็ฟโตค็อกคัสมิวแทนส์ของสารสกัดสมุนไพรในวงศ์เหงือกปลาหมอ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทันตกรรมทั่วไป. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2555.

16. วชิราพร ปิ่นสุวรรณ. ผลของสารสกัดจากใบข่อยและน้ำมันตะไคร้ตัวการยังยั้งการสร้างไบโอฟิล์มใต้เหงือกในหลอดทดลอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปริทันต์วิทยา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2555.

17. อัญชลี ตัตตะวะศาสตร์ บังอร ศรีพานิชกุลชัย สุวิมล ทวีชัยศุภพงษ์และคณะ. รายงานวิจัยเรื่องฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ใช้รักษาโรคในช่องปาก. ขอนแก่น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2547.

18. จิตรา ลิมทรง. ผลการยังยั้งของสารสกัดจากสมุนไพรบางชนิดต่อการยึดเกราะของเชื้อเสต็ฟโตคอคคัสมิวเทนส์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาช่องปาก.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2543.

19. อัญชนา สุนพรม. การพัฒนาตำรับเจลผสมสารสกัดจากใบข่อย เพื่อใช้ร่วมกับการรักษาโรคปริทันต์อักเสบและการทดสอบความปลอดภัยทางคลินิก. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปริทันตวิทยา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2547.

Downloads

Published

2017-10-24

Issue

Section

บทความปริทัศน์ (Review article)