การพัฒนาและตรวจสอบความถูกต้องของวิธีสำหรับการตรวจหาเชื้อไวรัสซิกา

ผู้แต่ง

  • สุมาลี ชะนะมา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ภัทร วงษ์เจริญ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ศิริรัตน์ แนมขุนทด สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ลัดดาวัลย์ มีแผนดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • อริสรา โปษณเจริญ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • พงศ์ศิริ ตาลทอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ฮุสนียะห์ วาเต๊ะ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • สาริณี ชำนาญรักษา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • วรารัตน์ แจ่มฟ้า สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • อารีรัตน์ สง่าแสง นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

ไวรัสซิกา, In vitro transcription (IVT), real-time RT-PCR

บทคัดย่อ

          ไวรัสซิกา (Zika virus; ZIKV) เป็นเชื้อไวรัสในกลุ่มฟลาวิไวรัส (Flaviviridae family) มียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นพาหะนำโรคและมีช่องทางติดเชื้อทางอื่นที่พบได้น้อย คือ จากแม่สู่ลูก ทางเพศสัมพันธ์ และการให้เลือด ลักษณะอาการทั่วไป คือ มีไข้ ออกผื่น ปวดข้อ และตาแดง การติดเชื้อไวรัสซิการะหว่างตั้งครรภ์อาจทำให้ทารกแรกเกิดศีรษะเล็กผิดปกติ วิธีที่เหมาะสมที่สุดที่ใช้ตรวจหาเชื้อไวรัสซิกา คือ การตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัสซิกาจากตัวอย่างซีรัมและปัสสาวะโดยวิธี real-time RT-PCR วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความถูกต้องของวิธี real-time RT-PCR และผลิตไวรัสซิกาอาร์เอ็นเอเพื่อใช้เป็นสารควบคุม การทดสอบ ZIKV real-time RT-PCR นี้ ได้ดัดแปลงมาจากวิธีการตรวจหาสารพันธุกรรมไวรัสซิกาของศูนย์ควบคุมโรคติดต่อสหรัฐอเมริกา (US-CDC) โดยใช้ไพรเมอร์และโพรบ จำนวน 3 ชุด ที่จำเพาะต่อยีน prM, E และ NS2b การผลิตและสังเคราะห์ไวรัสซิกาอาร์เอ็นเอสารควบคุมขนาดความยาว 350 bp ที่เป็นนิวคลีโอไทด์ของยีน prM และ E ใช้เทคนิค In vitro transcription (IVT) จากการตรวจสอบความถูกต้องของวิธีโดยการตรวจหาอาร์เอ็นเอสารควบคุม และเชื้อไวรัสซิกาที่เจือจางความเข้มข้นต่างๆ พบว่ามีความจำเพาะร้อยละ 100 มีค่า Limit of Detection เท่ากับ 0.15 PFU/ml นอกจากนี้การทดสอบความชำนาญพบว่า มีความสอดคล้องกันร้อยละ 100 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการทดสอบหาสารพันธุกรรมไวรัสซิกาด้วย real-time RT-PCR สามารถตรวจหาไวรัสซิกาสายพันธุ์เอเชียและแอฟริกาได้

References

Ellison DW, Ladner JT, Buathong R, Alera MT, Wiley MR, Hermann L, et al. Complete genome sequences of Zika virus strains isolated from the blood of patients in Thailand in 2014 and the Philippines in 2012. Genome Announc 2016; 4(3): e00359-16. (2 pages).

Hayes EB. Zika virus outside Africa. Emerg Infect Dis 2009; 15(9): 1347-50.

Kleber de Oliveira W, Cortez-Escalante J, De Oliveira WT, do Carmo GM, Henriques CM, Coelho GE, et al. Increase in reported prevalence of microcephaly in infants born to women living in areas with confi rmed Zika virus transmission during the fi rst trimester of pregnancy-Brazil, 2015. MMWR Morb Mortal Wkly Rep 2016; 65(9): 242-7.

Buathong R, Hermann L, Thaisomboonsuk B, Rutvisuttinunt W, Klungthong C, Chinnawirotpisan P, et al. Detection of Zika virus infection in Thailand, 2012-2014. Am J Trop Med Hyg 2015; 93(2): 380-3.

วิรุฬห์ พรพัฒน์กุล. โรคติดเชื้อไวรัสซิกาและสถานการณ์โรคในจังหวัดนนทบุรี ว. สมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย 2560; 7(2): 244-50.

กรมควบคุมโรคเผยประเทศไทยเฝ้าระวังสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสซิกาอย่างต่อเนื่องพร้อมใช้มาตรการป้องกันและควบคุมโรคระดับสูงสุดในพื้นที่ทันทีที่พบผู้ป่วย. รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำเดือน [ออนไลน์]. 2559; [สืบค้น 12 เม.ย. 2564]; 1(6): [18 หน้า]. เข้าถึงได้ที่: URL: https://www.ato.moph.go.th/sites/default/files/monthly_0859.doc.

Huang AS, Shu PY, Yang CH. A new reportable disease is born: Taiwan Centers for Disease Control’s response to emerging Zika virus infection. J Formos Med Assoc 2016; 115(4): 223-5.

Duong V, Dussart P, Buchy P. Zika virus in Asia. Int J Infect Dis 2017; 54: 121-8.

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง เพิ่มเติมชื่อโรคติดต่อต้องแจ้งความ. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอนพิเศษ 35 ง (วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559). หน้า 3.

Charrel RN, Leparc-Goff art I, Pas S, de Lamballerie X, Koopmans M, Reusken C. Background review for diagnostic test development for Zika virus infection. Bull World Health Organ 2016; 94(8): 574-84.

World Health Organization. Laboratory testing for Zika virus infection, interim guidance. [online]. 2016; [cited 2021 Apr 12]; [4 screens]. Available from: URL: https://www.who.int/csr/resources/publications/zika/laboratory-testing/en.

Faye O, Faye O, Dupressoir A, Weidmann M, Ndiaye M, Sall AA. One-step RT-PCR for detection of Zika virus. J Clin Virol 2008; 43(1): 96-101.

Lanciotti RS, Kosoy OL, Laven JJ, Velez JO, Lambert AJ, Johnson AJ, et al. Genetic and serological properties of Zika virus associated with an epidemic, Yap State, Micronesia, 2007. Emerg Infect Dis 2008; 14(8): 1232-9.

Faye O, Faye O, Diallo D, Diallo M, Weidmann M, Sall AA. Quantitative real-time PCR detection of Zika virus and evaluation with fi eld-caught mosquitoes. Virol J 2013; 10: 311. (8 pages).

Pyke AT, Daly MT, Cameron JN, Moore PR, Taylor CT, Hewitson GR, et al. Imported Zika virus infection from the Cook Islands into Australia, 2014. PLos Curr 2014; 6: (7 pages).

Tappe D, Nachtigall A, Kapaun A, Schnitzler P, Gunther S, Schmidt-Chanasit J. Acute Zika virus infection after travel to Malaysian Borneo, September 2014. Emerg Infect Dis 2015; 21(5): 911-3.

Waggoner JJ, Pinsky BA. Zika virus: diagnostics for an emerging pandemic threat. J Clin Microbiol 2016; 54(4): 860-7.

Corman VM, Rasche A, Baronti C, Aldabbagh S, Cadar D, Reusken CB, et al. Assay optimization for molecular detection of Zika virus. Bull World Health Organ 2016; 94(12): 879-92.

Bingham AM, Cone M, Mock V, Heberlein-Larson L, Stanek D, Blackmore C, et al. Comparison of test results for Zika virus RNA in urine, serum, and saliva specimens from persons with travel-associated Zika virus diseases - Florida, 2016. MMWR Morb Mortal Wkly Rep 2016; 65(18): 475-8.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-06-2021

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Articles)