ระบาดวิทยาโรคติดเชื้อไวรัสซิกาในประเทศไทย ช่วงปี พ.ศ. 2559-2563

ผู้แต่ง

  • สุมาลี ชะนะมา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ภัทร วงษ์เจริญ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ศิริรัตน์ แนมขุนทด สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ลัดดาวัลย์ มีแผนดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • อริสรา โปษณเจริญ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • พงศ์ศิริ ตาลทอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ฮุสนียะห์ วาเต๊ะ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • สาริณี ชำนาญรักษา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • วรารัตน์ แจ่มฟ้า สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • อารีรัตน์ สง่าแสง นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

ไวรัสซิกา, โรคติดเชื้อไวรัสซิกา, ระบาดวิทยา

บทคัดย่อ

         การตรวจวินิจฉัยโรคติดเชื้อไวรัสซิกาทางห้องปฏิบัติการที่นิยม คือการตรวจสารพันธุกรรมของไวรัสซิกา ในตัวอย่างซีรัม และ/หรือ ปัสสาวะ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อไวรัสซิกาในประเทศไทยในช่วงปี พ.ศ. 2559-2563 ด้วยการตรวจตัวอย่างซีรัมและปัสสาวะของผู้ป่วย และผู้สัมผัสที่ส่งตรวจที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระหว่างปี พ.ศ. 2559 - 2563 ด้วยวิธี real-time RT-PCR โดยใช้ไพรเมอร์และโพรบจำนวน 3 ชุด ซึ่งจำเพาะต่อยีน prM, E และ NS2b จำนวนตัวอย่างตรวจ 12,820 ตัวอย่าง จาก 9,559 ราย พบผลบวก 918 ตัวอย่าง (ร้อยละ 7.16) และจากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าผู้ป่วยไวรัสซิกาส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 25 - 34 ปี (ร้อยละ 23.38) รองลงมา คือ 15 - 24 ปี (ร้อยละ 16.01) และ 35 - 44 ปี (ร้อยละ 16.01) ภูมิลำเนาของผู้ป่วยกระจายอยู่ใน 35 จังหวัด ทุกภูมิภาคของประเทศไทย จังหวัดที่พบผู้ป่วยไวรัสซิกามากที่สุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ กรุงเทพมหานคร บึงกาฬ และนนทบุรี

References

Hayes EB. Zika virus outside Africa. Emerg Infect Dis 2009; 15(9): 1347 - 50.

World Health Organization. WHO Director - General summarizes the outcome of the Emergency Committee regarding clusters of microcephaly and Guillain - Barré syndrome. [online]. 2016; [cited 2016 Apr 12]; [2 screens]. Available from: URL: https://www.who.int/news/item/01-02-2016-who-director-general-summarizes-the-outcome-of-the-emergency-committee-regarding-clusters-of-microcephaly-and-guillain-barr%c3%a9-syndrome.

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค. ประกาศกระทรวงสาธารณสุช เรื่องเพิ่มเติมชื่อโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ. [ออนไลน์]. 2559; [สืบค้น 12 เม.ย. 2564]; [1 หน้า]. เข้าถึงได้ที่: URL: https://apps.doe.moph.go.th/boe/zika.php.

พจมาน ศิริอารยาภรณ์, โรม บัวทอง, อาทิชา วงศ์คำมา. แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง และสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสซิกาในกลุ่มเสี่ยง. ใน: วรยา เหลืองอ่อน, นพรัตน์ มงคลางกูร, บรรณาธิการ. คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ปี 2559. นนทบุรี: สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2559. หน้า 26 - 32.

สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสซิกาประเทศไทย ประจำสัปดาห์ที่ 52/2561 ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2561. [ออนไลน์]. 2561; [สืบค้น 1 มี.ค. 2564]: [2 หน้า]. เข้าถึงได้ที่: https://ddc.moph.go.th/uploads/ckeditor/6f4922f45568161a8cdf4ad2299f6d23/files/Zika%20Fever/2561/Zika%2052.pdf.

Faye O, Faye O, Dupressoir A, Weidmann M, Ndiaye M, Sall AA. One-step RT-PCR for detection of Zika virus. J Clin Virol 2008; 43(1): 96 - 101.

Lanciotti RS, Kosoy OL, Laven JJ, Velez JO, Lambert AJ, Johnson AJ, et al. Genetic and serological properties of Zika virus associated with an epidemic, Yap State, Micronesia, 2007. Emerg Infect Dis 2008; 14(8): 1232 - 9.

สุมาลี ชะนะมา, ภัทร วงษ์เจริญ, ศิริรัตน์ แนมขุนทด, ลัดดาวัลย์ มีแผนดี, อริสรา โปษณเจริญ, พงศ์ศิริ ตาลทอง, และคณะ. การพัฒนาและตรวจสอบความถูกต้องของวิธีสำหรับการตรวจหาเชื้อไวรัสซิกา. ว กรมวิทย พ 2564; 63(2): 359 - 69.

สุมาลี ชะนะมา, เกรียงศักดิ์ ฤชุศาศวัต. แนวทางการตรวจโรคติดเชื้อไวรัสซิกาทางห้องปฏิบัติการ. ใน: วรยา เหลืองอ่อน, นพรัตน์ มงคลางกูร, บรรณาธิการ. คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ปี 2559. นนทบุรี: สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2559. หน้า 43 - 50.

กองควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสซิกาประเทศไทย สัปดาห์ที่ 52/2562 (ข้อมูล ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2562). [ออนไลน์]. 2562; [สืบค้น 17 พ.ค. 2564]: [2 หน้า]. เข้าถึงได้ที่: URL: https://drive.google.com/drive/folders/1fPpUqVU66mcZ_CLPYB1S1WiqcOMVD4un.

กองควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสซิกาประเทศไทย ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563. [ออนไลน์]. 2563; [สืบค้น 17 พ.ค. 2564]; [1 หน้า]. เข้าถึงได้ที่: URL: https://drive.google.com/drive/folders/1_yKIdHMkWAdl24MGDqdZwrK7-WSMTky_.

Atkinson B, Hearn P, Afrough B, Lumley S, Carter D, Aarons EJ, et al. Detection of Zika virus in semen. Emerg Infect Dis 2016; 22(5): 940.

Reusken C, Pas S, GeurtsvanKessel C, Mogling R, van Kampen J, Langerak T, et al. Longitudinal follow - up of Zika virus RNA in semen of a traveller returning from Barbados to the Netherlands with Zika virus disease, March 2016. Euro Surveill 2016; 21(23): pii=30251. (4 pages).

Bingham AM, Cone M, Mock V, Heberlein - Larson L, Stanek D, Blackmore C, et al. Comparison of test results for Zika virus RNA in urine, serum, and saliva specimens from person with travel - associated Zika virus diseases - Florida, 2016. MMWR Morb Mortal Wkly Rep 2016; 65(18): 475 - 8.

Centers for Disease Control and Prevention. Interim guidance for Zika virus testing of urine - United States, 2016. MMWR Morb Mortal Wkly Rep 2016; 65(18): 474.

หนังสือกระทรวงสาธารณสุขที่ สธ 0436.2/279 วันที่ 25 มกราคม 2560 เรื่อง ขอปรับมาตรการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus disease) จากมาตรการระยะฉุกเฉินเป็นมาตรการระยะยาว. นนทบุรี: สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค; 2560.

กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 - 12 สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง. รายงานพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2563. [ออนไลน์]. 2563; [สืบค้น 18 พ.ค. 2564]: [77 หน้า]. เข้าถึงได้ที่: URL: http://direct.disaster.go.th/site7/cms-download_content.php?did=32461

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-09-2021

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Articles)