สถานการณ์และปัญหาการเข้าถึงยาเบดาควิลีนในผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา
คำสำคัญ:
การเข้าถึงยา, เบดาควิลีน, การเมืองเรื่องของยา, สิทธิบัตรยา, นโยบายสาธารณสุข, เภสัชเศรษฐศาสตร์บทคัดย่อ
วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ยาเบดาควิลีนเป็นยาที่องค์การอนามัยโลกแนะนำและหลายประเทศเริ่มใช้ในการรักษาวัณโรคดื้อยาประสิทธิภาพดีขึ้น แต่ยาเบดาควิลีนมีราคาแพง ทำให้เกิดปัญหาการเข้าถึงยา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาการเข้าถึงยาเบดาควิลีนในประเทศไทย ใช้รูปแบบวิจัยการเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญจำนวน 9 ท่าน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา การศึกษาพบว่าในด้านการรักษา ยามีประสิทธิภาพและความปลอดภัย ลดระยะเวลาในการรักษา ลดอาการไม่พึงประสงค์ และผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการรักษา ด้านการเมืองเรื่องของยาพบว่าพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 และฉบับที่กำลังแก้ไขส่งผลต่อการขึ้นทะเบียนยาของบริษัทยาชื่อสามัญ ราคายาส่งผลต่อการเข้าถึงยา การเจรจา การค้าระหว่างประเทศ อาจส่งผลทำให้การเข้าถึงยายากขึ้น สรุปยาเบดาควิลีนมีความเหมาะสมในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา แต่ปัญหาเรื่องระบบสิทธิบัตรและการเจรจาการค้าระหว่างประเทศอาจส่งผลต่อการเข้าถึงยาของผู้ป่วย ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรที่จะพิจารณาคำขอรับสิทธิบัตรที่เกี่ยวกับยาเบดาควิลีน อย่างละเอียดรอบครอบ และส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันของยาชื่อสามัญที่จะทำให้ราคายาถูกลง
References
กรมควบคุมโรค กองวัณโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). รายงานสถานการณ์วัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิด. เข้าถึง
ได้ 1 สิงหาคม 2564 จาก https://www.tbthailand.org/download/form/รายงานสถานการณ์วัณโรคดื้อ
ยาหลายขนานชนิด%20กุมภา.pdf
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.(2558). แนวทางปฏิบัติป้องกันควบคุมวัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก ภายใต้
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2561.
กรมควบคุมโรค กองวัณโรค. (2564). รายงานสถานการณ์และการเฝ้าระวัง วัณโรคดื้อยาหลายขนาน พ.ศ.2564 เข้าถึงได้ 10
สิงหาคม 2564 จาก https://www.tbthailand.org/download/form.pdf
กลุ่มพัฒนาวิชาการ สำนักงานวัณโรค กรมควบคุมโรค. (2556). แนวทางปฏิบัติในการสอบสวน กรณีสงสัยการ ระบาดของ
วัณโรค. เข้าถึงได้ 10 สิงหาคม 2564 จาก http://cqihiv.com/book_dsc/I_tuberculosis-31.pdf
จักรี ไชยพินิจ. (2563). เสรีนิยมใหม่กับระบบทรัพย์สินทางปัญญาในประเทศอินเดีย: ศึกษาในกรณีกฎหมายสิทธิบัตรใน
ประเทศอินเดียและบทเรียนสู่ประเทศไทย. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา , 14 (4), 37-51.
ทิราภรณ์ กาญจนพันธุ์ และ อรศรี วิทวัสมงคล. (2562). แนวทางการรักษาวัณโรคดื้อยา ตามคำแนะนำของสมาคมโรคติดเชื้อ
สมาคมโรคทรวงอกประเทศสหรัฐอเมริกา และสมาคมโรคทางเดินหายในสหภาพยุโรป ปี พ.ศ. 2562. เข้าถึงได้ 6
สิงหาคม 2564 จาก https://www.pidst.or.th/A919.html
ธวัช จารุศิริกุล. (2556). มาตรการผ่อนปรนตามกฎหมายกับการบังคับสิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตรยา (นิติศาสตตร์มหาบัณฑิต
สาขากฎหมายธุรกิจ). กรุงเทพมหานคร. คณะนิติศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกริก.
นันทินารี คงยืน. (2561). การเข้าถึงยาของผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี กรณีคาดการณ์การเข้าร่วมเขตการค้าเสรีภูมิภาคเอเชีย
แปซิฟิก.กรุงเทพมหานคร:โรงพยาบาลรามาธิบดี.
ประชาไท. (2564, 2 กุมภาพันธ์). เครือข่ายภาคประชาสังคมด้านเอดส์ร่วมกันยื่นฟ้องอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญาทรัพย์สิน
ทางปัญญาให้ยกคำขอรับสิทธิบัตรยารักษาวัณโรคชนิดดื้อยาเบดาคิวลีน. เข้าถึงได้ 2 สิงหาคม 2564 จาก
https://prachatai.com/journal/2021/02/91481.
พีรพล สิมมา, สุชาติ ธรรมาพิทักษ์. (2557). กฎหมายสิทธิบัตรกับปัญหาการเข้าถึงยารักษาโรค : ศึกษาในกรณีประเทศไทย.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 4 (3), 109-14.
โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน. (2554). วัณโรคเกิดจากอะไร. เข้าถึงได้ 2 สิงหาคม 2564 จาก https://www.tm.mahidol.
ac.th/th/tropical-medicine.html
วรรษมน จันทรเบญจกุล. (2564). All-oral regimen for drug resistance tuberculosis. เข้าถึงได้ 5 สิงหาคม 2564 จาก
https://www.pidst.net/A918.html
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2564). แผนปฏิบัติการตามยุทธศาสตร์การเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชากรไทย
ปีงบประมาณ 2554-2564. เข้าถึงได้ 6 สิงหาคม 2564 จาก https://www.fda.moph.go.th/sites/drug
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข .(2561). แนวทางการควบคุมวัณโรคประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 1).
กรุงเทพมหานคร: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; หน้า 1-4.
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.(2561). แนวทางการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานด้วย สูตรยา
ระยะสั้น 9 เดือน. เข้าถึงได้ 1 สิงหาคม 2564 จาก https://www.tbthailand.org/guideline/shorter
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค. (2559). แนวปฏิบัติในการดำเนินงานระบบเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยาเชิงรุก สำหรับ
ยารักษาวัณโรครายใหม่ ยาที่จดข้อบ่งชี้ใหม่และแผนการรักษาใหม่ ในการรักษาวัณโรคดื้อยาในประเทศไทย (พิมพ์
ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2559.
อนุสรณ์ ไชยปุระ และ พินัย ณ นคร. (2563). การบังคับใช้สิทธิในสิทธิบัตร : ศึกษากรณีการบังคับใช้สิทธิในเภสัชภัณฑ์.
วารสารมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 14 (35), 206-207.
Lu X, Smare C, Kambili C, El Khoury AC, Wolfson LJ. (2017). Health outcomes of bedaquiline in the treatment
of multidrug-resistant tuberculosis in selected high burden countries. BMC Health Services
Research, 17 (1), 87.
Mobela A, Williams A, Kambili C, Mattson G, Metz L. (2020). The cost-effectiveness of a bedaquiline-
containing short-course regimen for the treatment of multidrug-resistant tuberculosis in
South Africa. Expert Review of Anti-infective Therapy, 18(5), 475-83. [http://dx.doi.org/10.
/14787210.2020.1742109] [PMID: 32186925]
World Health Organization. (2019). WHO consolidated guidelines on drug-resistant tuberculosis
treatment. Switzerland.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร วารสารสาธารณสุขและสุขภาพศึกษา (Thai Journal of Public Health and Health Education) เป็นลิขสิทธิ์ของ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี