ควันบุหรี่กับสุขภาพเด็ก: การประยุกต์ใช้หลัก 5A ในการพยาบาล

ผู้แต่ง

  • ศิรินทร์ณา ทัศนียรัตน์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต จังหวัดปทุมธานี
  • สุวรรณา มณีวงศ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต จังหวัดปทุมธานี
  • รุ้งกาญจน์ โรจนประดิษฐ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต จังหวัดปทุมธานี
  • เสาวภาคย์ ทัดสิงห์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต จังหวัดปทุมธานี

คำสำคัญ:

ควันบุหรี่, บุหรี่มือสอง, สุขภาพเด็ก, เลิกบุหรี่, 5A

บทคัดย่อ

ควันบุหรี่มีสารนิโคตินซึ่งสามารถตกค้างในสิ่งแวดล้อม  เด็กที่เกิดมาในครอบครัวที่สูบบุหรี่จึงได้รับสารนิโคตินที่ตกค้างในที่อยู่อาศัย ควันบุหรี่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กโดยทำให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด การเจริญเติบโตช้า สติปัญญาและการรู้คิดบกพร่อง และภาวะการเสียชีวิตกระทันหันในทารกแรกเกิด พยาบาลมีบทบาทในการป้องกันผลกระทบจากควันบุหรี่ต่อสุขภาพของเด็ก โดยการให้คำปรึกษาและช่วยเหลือให้ครอบครัวเลิกบุหรี่ โดยอาศัยกระบวนการพยาบาลที่ประยุกต์ใช้หลัก 5 A ซึ่งประกอบด้วย  1) ถาม (Ask) เกี่ยวกับประวัติการสูบบุหรี่ 2) แนะนำ (Advise) การปรับพฤติกรรมให้เหมาะสม เพื่อเลิกบุหรี่ 3) ประเมิน (Assess) ลักษณะการเสพติดและความพร้อมในการเลิกสูบบุหรี่ 4) ช่วยเหลือ (Assist)  ให้เลิกบุหรี่ได้สำเร็จ และ 5) ติดตามผล (Arrange follow up) ประเมินผลการเลิกบุหรี่เป็นระยะ เพื่อให้การเลิกบุหรี่คงอยู่อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น พยาบาลจึงมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการชี้ให้ครอบครัวและผู้ดูแลเด็กเห็นถึงโทษและพิษภัยของควันบุหรี่ที่ส่งผลต่อสุขภาพเด็ก เห็นความสำคัญของการเลิกบุหรี่ แนะนำ ช่วยเหลือ และติดตามให้คำปรึกษาแก่ครอบครัวให้เลิกบุหรี่จนสำเร็จ

References

กรองจิต วาทีสาธกกิจ. (2555). การส่งเสริมการเลิกบุหรี่ในงานประจำ.ใน กรองจิต วาทีสาทกกิจ (บรรณาธิการ), ถนนปชต การส่งเสริมการเลิกบุหรี่ในงานประจำ (พิมพ์ครั้งที่ 9; น. 44-63). กรุงเทพฯ: มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่.

จินตนา ดำเกลี้ยง, จารุวรรณ กฤต์ประชา, อนงค์ ประสาธน์วนกิจ, ทิพมาส ชิณวงศ์, รัดใจ เวชประสิทธิ์, ศมนันท์ ทัศนีย์สุวรรณ, และณัฐษยกานต์ นาคทอง. (2561). ประสบการณ์ของนักศึกษาพยาบาลในการใช้โมเดล 5A เพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 38(3), 141-151.

นิศารัตน์ ชูชาญ. (2563). การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย.

มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. (2560). วิจัย : สูบบุหรี่ในบ้าน มหันตภัยสารพิษสู่ลูกน้อย. สืบค้นจาก http://www.ashthailand.or.th/content_attachment/attach/8190d94130e797f3a9de2165dd805af.pdf

ศรัญญา ธิติศักดิ์. (2564). การควบคุมการบริโภคยาสูบของนักศึกษาพยาบาลเมื่อฝึกปฏิบัติในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน. วารสารพยาบาล, 70(1), 42-51.

สุรีย์ลักษณ์ สุจริตพงศ์. (2560). ผลกระทบของการเสพสารเสพติดระหว่างตั้งครรภ์. กรุงเทพฯ: ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้นจาก https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=796

สำนักส่งเสริมสุขภาพ. (2562). องค์ความรู้ที่จำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยทำงานที่มีมาตรฐาน สำหรับบุคลากรสาธารณสุข: อันตรายจากการสูบ สูดดม ควันบุหรี่. (หนังสืออิเล็กทรอนิกส์). นนทบุรี: สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. สืบค้นจาก https://multimedia.anamai.moph.go.th/wp-content/uploads/2019/07/HP-eBook_12.pdf

อรสา พันธ์ภักดี. (2556). แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อช่วยเลิกบุหรี่:คู่มือการให้คำแนะนำการช่วยเลิกบุรี่ สู่งานประจำ (พิมพ์ครั้งที่ 2 ). กรุงเทพ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย.

อรสา พันธ์ภักดี, อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ, นวลขนิษฐ์ ลิขิตลือชา, และสุปราณี เสนาดิสัย. (2560). การสำรวจการปฏิบัติพยาบาลเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ในประเทศไทย. วารสารพยาบาล, 66(1), 1-8.

Anderson, T. M., Lavista Ferres, J. M., Ren, S. Y., Moon, R. Y., Goldstein, R. D., Ramirez, J., & Mitchell, E. A. (2019). Maternal smoking before and during pregnancy and the risk of sudden unexpected infant death. Pediatrics, 143(4), e20183325. https://doi.org/10.1542/peds.2018-3325

Bednarczuk, N., Milner, A., & Greenough, A. (2020). The role of maternal smoking in sudden fetal and infant death pathogenesis. Frontiers in Neurology, 11, 1-7.

Centers for Disease Control and Prevention [CDC]. (2020). Health effects of secondhand smoke. Retrieved from https://www.cdc.gov/tobacco/data_statistics/fact_sheets/secondhand_smoke/health_effects/index.htm

Elliott, A. J., Kinney, H. C., Haynes, R. L., Dempers, J. D., Wright, C., Fifer, W. P., . . . Dukes, K. A. (2020). Concurrent prenatal drinking and smoking increases risk for SIDS: Safe passage study report. EClinicalMedicine, 19, 100247. https://doi.org/10.1016/j.eclinm.2019.100247

Friedmann, I., Dahdouh, E. M., Kugler, P., Mimran, G., & Balayla, J. (2017). Maternal and obstetrical predictors of sudden infant death syndrome (SIDS). The Journal of Maternal-Fetal & Neonatal Medicine, 30(19), 2315-2323.

Fitri, A. D., Ismah, Z., Irfani, T. H., Gufron, M., & Adil, M. (2018). Risk factors of high blood pressure in children exposed to passive smoke. LIFE: International Journal of Health and Life-Sciences, 3(3), 158-167.

He, Y., Luo, R., Wang, T., Gao, J., & Liu, C. (2018). Prenatal exposure to environmental tobacco smoke and early development of children in rural Guizhou province, China. International Journal of Environmental Research and Public Health, 15(12), 2866. https://doi.org:10.3390/ijerph15122866

Sigaud, C. H., Castanheira, A. B., & Costa, P. (2016). Association between secondhand smoking in the home and respiratory morbidity in preschool children. Revista da Escola de Enfermagem da USP, 50(4), 562-568. https://doi:10.1590/s0080-623420160000500004

Sontag, J. M., Singh, B., Ostfeld, B. M., Hegyi, T., Steinberg, M. B., & Delnevo, C. D. (2020). Obstetricians’ and gynecologists’ communication practices around smoking cessation in pregnancy, secondhand smoke and sudden infant death syndrome (SIDS): A survey. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(8), 2908. https://doi.org/10.3390/ijerph17082908

Tobacco, T. C. (2008). A clinical practice guideline for treating tobacco use and dependence: 2008 update: a US public health service report. American Journal of Preventive Medicine, 35(2), 158-176.

Wada, K., Ueyama, J., Konishi, K., Goto, Y., Koda, S., Mizuta, F., . . . Nagata, C. (2020). Associations between exposure to tobacco smoke and behavioral problems in preschool Japanese children. Journal of Environmental and Public Health, 1-8. https://doi.org:10.1155/2020/7591263

Wang, H., Li, F., Zhang, Y., Jiang, F., & Zhang, J. (2019). The association between exposure to secondhand smoke and psychological symptoms among Chinese children. BMC Public Health, 19(1), 923. https://doi.org/10.1186/s12889-019-7006-8

Wennergren, G. (2018). Smoking in pregnancy and bed sharing, a fatal combination. Acta Paediatrica, 107(11), 1848-1849.

Zhuge, Y., Qian, H., Zheng, X., Huang, C., Zhang, Y., Li, B., . . . Sundell, J. (2020). Effects of parental smoking and indoor tobacco smoke exposure on respiratory outcomes in children. Scientific Reports, 10(1). https://doi:10.1038/s41598-020-60700-4

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30