สถานการณ์และแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่มุ่งเน้นผลลัพธ์
คำสำคัญ:
แนวทางที่เน้นผลลัพธ์, พัฒนาการเด็ก, เด็กปฐมวัยบทคัดย่อ
การส่งเสริมพัฒนาการเด็กในปฐมวัยอย่างเต็มศักยภาพ จะทำให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ ถึงแม้ว่าครอบครัวจะมีบทบาทหลักในการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก แต่ต้องได้รับความร่วมมือจากชุมชน ร่วมกับการสนับสนุนจากภาครัฐด้วยเช่นกัน ทั้งหน่วยงานด้านสาธารณสุข ด้านการศึกษา และด้านเศรษฐกิจและสังคม ที่ต้องทำงานอย่างเป็นรูปธรรม สอดคล้องและเกื้อหนุนกัน ในปัจจุบันสถานการณ์การดำเนินงานดังกล่าวมีความชัดเจนมากกว่าในอดีต แต่ภาวะสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กปฐมวัยยังเป็นประเด็นที่ต้องพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อถานการณ์และนำเสนอแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ โดยเน้นคุณภาพการจัดบริการสำหรับครอบครัว และได้นำเสนอแบบบันทึกข้อมูลพัฒนาการประจำตัวของเด็กเฉพาะราย ที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องบันทึกข้อมูลร่วมกัน เพื่อใช้เป็นหลักฐานที่แสดงประสิทธิภาพและผลสำเร็จของการส่งเสริมพัฒนาการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสำคัญ คือ เด็กไทยทุกคนมีพัฒนาการสมวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพของประเทศชาติ
References
กรมอนามัย. (2563). รายงานประจำปีกรมอนามัย 2563. สืบค้นจากhttp://planning.anamai.moph.go.th/main.php?filename=Left_M2_3
กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายและแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. สืบค้นจาก https://moe360.blog/2020/09/23/early- childhood/
จิตอารี ชาติมนตรี, ชมพูนุท แสงวิจิตร, จักรวาล เรณูรส, และวิชนันท์ จุลบุตร. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเลี้ยงดูของผู้ปกครองกับพัฒนาการของเด็กก่อนวัยเรียน อายุ 2-4 ปี ในเขตเทศบาลนครลําปาง จังหวัดลําปาง. วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ, 7(1), 102-116.
จินตนา พัฒนพงศ์ธร, และวันนิสาห์ แก้วแข็งขัน. (2560). รายงานการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2560. สืบค้นจาก https://www.cgtoolbook.com/books003/4/
ชยวัฒน์ ผาติหัตกรณ์. (2563). ความสัมพันธ์และรูปแบบการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของทารกในครรภ์ที่ตรวจพบความผิดปกติของระบบประสาทและไขสันหลังกับการติดเชื้อไวรัสซิการ์ (ปีที่2). สืบค้นจาก https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5267?show=full
ฐิติมา ชูใหม่. (2559). การเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กปฐมวัย. วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล, 1(2), 18-33.
นัยนา ณีศะนันท์, จริยา ทะรักษา, วีระศักดิ์ ชลไชยะ, สุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์, และวินัดดา ปิยะศิลป์ (บรรณาธิการ). (2560). คู่มือสําหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก วัยเด็กเล็ก 0-3 ปี. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย.
นัยนา ภูลม, จินตนา วัชสินธุ์, และนุจรี ไชยมงคล. (2561). นิเวศวิทยาครอบครัว: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการเด็กวัยเตาะแตะ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 22(1), 18-36.
ประคอง ตั้งสกุล. (2561). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะน้ำหนักตัวของทารกแรกเกิดต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 6(2), 113-122.
ยุวดี พงษ์สาระนันทกุล, และสุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2559). รูปแบบการสร้างเสริมพัฒนาการด้านภาษาแก่เด็กอายุ 2-4 ปี โดยบิดามารดาหรือผู้ดูแล: กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. Journal of Nursing Science, 34(2), 34-44.
วิจิตร จันดาบุตร, วิทยา อยู่สุข, และวิโรจน์ เซมรัมย์. (2561). การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลสีวิเชียร อำเภอน้ำยืน จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 13(1), 208-219.
เศกสันต์ ชานมณีรัตน์. (2560). การประเมินผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์ เขต 4-5, 37(1), 66-77.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2560). คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM). สืบค้นจาก http://hp.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/hp/article_attach/คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM).pdf
สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต. (2555). แนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย แรกเกิด-5 ปี ที่มีปัญหาพัฒนาการ. สืบค้นจาก https://th.rajanukul.go.th/สื่อเทคโนโลยีสถาบัน/2551-2555/
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2562). พระราชบัญญัติ การพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๒. สืบค้นจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/056/T_0005.PDF
สุทธิชา มาลีเลศ, จุฬาลักษณ์ สุตระ, สุพรรณิการ์ ศรีสุวรรณ, และปัทมา ก้งเส้ง. (2559). การศึกษาการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของนักเรียนชั้นอนุบาล 1/3 โรงเรียนตันติวัตร โดยใช้กิจกรรมร้อยสร้างรูป. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 8: 2559 “การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอย่างยั่งยืนสู่โลกาภิวัตน์”. สืบค้นจาก https://race.nstru.ac.th/home_ex/e-portfolio//pic/academy/25077303.pdf?1618599946
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (2561). คู่มือศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/work/e_book/eb6/eb6_3/3km5.pdf
Bruchhage, M., Ngo, G. C., Schneider, N., D'Sa, V., & Deoni, S. (2020). Functional connectivity correlates of infant and early childhood cognitive development. Brain structure & function, 225(2), 669–681. https://doi.org/10.1007/s00429-020-02027-4
California Department of Education. (2021). The desired results development profile-school-age (2015). Retrieved from https://www.cde.ca.gov/sp/cd/ci/desiredresults.asp
Gromada, A., Rees, G., & Chzhen, Y. (2020). Innocenti report card 16 worlds of influence understanding what shapes child well-being in rich countries. Retrieved from https://www.unicef- irc.org/publications/pdf/Report-Card-16-Worlds-of-Influence-child-wellbeing.pdf
Ho, L.Y. (2007). Child development programme in Singapore 1988 to 2007. Retrieved from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/18071596/
Hozt, R. L. (2006). Brain development rate linked to IQ. Retrieved from https://www.latimes.com/archives/la-xpm-2006-mar-30-sci-brain30-story.html
Mangrule, P. R. (2019). The hurry child syndrome. International Journal of Research In Paediatric Nursing, 1(2), 11-12.
McLeod, S. A. (2017). Developmental Psychology. Retrieved from https://www.simplypsychology.org/developmental-psychology.html
Moore, E. R., Anderson, N. G. C., & Medley, N. (2016). Early skin-to-skin contact for mothers and their healthy newborn infants. Retrieved from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/27885658/
Lancet. (2016). Advancing early childhood development: from science to scale an executive summary for The Lancet’s Series. Retrieved from https://marlin-prod.literatumonline.com/pb-assets/Lancet/stories/series/ecd/Lancet_ECD_Executive_Summary.pdf
World Health Organization [WHO] /The United Nations Children’s Fund [UNICEF]. (2018). Care for child development. Retrieved from unicef.org
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล ซึ่งดำเนินการโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล หรือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว