ชีวิตวิถีใหม่กับเทคนิคการดูแลตนเองเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด-19

ผู้แต่ง

  • กฤตกร หมั่นสระเกษ
  • รำไพ หมั่นสระเกษ
  • เกวลี หมั่นสระเกษ

คำสำคัญ:

ชีวิตวิถีใหม่, การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน, โรคโควิด-19

บทคัดย่อ

ประเทศไทยกำลังประสบปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ จุดเริ่มต้นมาจากกลุ่มสถานบันเทิง ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์อังกฤษ (B 1.1.7) ที่มีการกลายพันธุ์  จึงติดต่อง่าย รวดเร็ว และมีความรุนแรงกว่าทุกครั้งที่ผ่านมา  ทำให้มีอัตราการป่วยและเสียชีวิตสูง และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะมีการควบคุมการระบาดอย่างเคร่งครัด แต่ยังไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ให้สงบลงได้ ส่งผลกระทบโดยตรงกับสุขภาพและวิถีชีวิตของประชาชน รวมทั้งภาวะเศรษฐกิจของประเทศ  ปัจจุบันยังไม่มียาจำเพาะที่ได้ผลดีในการรักษา และประชาชนส่วนใหญ่ไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19  จึงมีความเสี่ยงที่จะเกิดการติดเชื้อได้ทุกเมื่อ ประชาชนจึงต้องปรับตัวตามสถานการณ์ ด้วยการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดีและมีภูมิคุ้มกันโรค  และใช้ชีวิตวิถีใหม่ควบคู่ไปกับการปฏิบัติตามมาตรการควบคุมการระบาดอย่างเคร่งครัด เทคนิคในการดูแลตนเองให้สุขภาพดีและมีภูมิคุ้มกันโรคโควิด-19  ประกอบไปด้วย  การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ  การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ การจัดการความเครียด การงดสูบบุหรี่และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์  เทคนิคเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติปลอดภัยจากการติดเชื้อโควิด-19  และสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2563). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). รายงานสถานการณ์โควิด-19. สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/situation.php

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2564ก). รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (17 พฤษภาคม.2564).สืบค้นจาก https://sites.google.com/view/hia-surveillance/report

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2564ข). คำแนะนำการปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้งหรือที่บ้าน สำหรับประชาชน (Work Form Home). สืบค้นจาก https://covid19.anamai.moph.go.th/web-upload/.pdf

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2564ค). แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับ บริการรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. สืบค้นจาก https://covid19.anamai.moph.go.th/web-upload/.pdf

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2564). จัดการกับความเครียด รับมือโควิดอีกครั้ง. สืบค้นจาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30561

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.). (2564). เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ครบ. สืบค้นจาก https://www.mhesi.go.th/index.php/all-media/infographic/3701-285641.html

ทวิติยา สุจริตรักษ์. (2563). ประเด็นน่ารู้เกี่ยวกับไวรัส SARS-CoV-2: ไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคโควิด-19. สืบค้นจาก https://www.pidst.or.th/A966.html

พิสนธิ์ จงตระกูล. (2563). 5 วิธีเสริมภูมิต้านทานช่วยต้านโควิด-19. สืบค้นจาก https://chulalongkornhospital.go.th/kcmh/line/5-%E0%B8%A7%/DETAIL

ลำดวน วงศ์สวัสดิ์. (2563). การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันป้องกันโควิดระบาดรอบ 2. (วิดีโอ) สืบค้นจาก https://wellnessbangkok.com/%E0%B8%A7%

วีระพันธ์ สุวรรณามัย. (2564). วิธีกระตุ้นภูมิคุ้มกันตัวเอง สู้ภัยโควิด. สืบค้นจากhttps://www.youtube.com/watch?v=-ONqCbWp40s

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2560). เทคนิค"นอนหลับ"ให้เพียงพอ. สืบค้นจาก

https://www.thaihealth.or.th/Content/35842-B8%AD.html

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2564). จับตาทิศทางสุขภาพคนไทย ปี 2564. สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/Content/35842-B8%AD.html

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ.วี. โปรเกรสซีฟ.

โสมรัชช์ วิไลยุ. (2563). New Normal. นิตยสารวาไรตี้เพื่อสุขภาพ@Rama. ฉบับที่ 37( ออนไลน์). สืบค้นจาก https://www.rama.mahidol.ac.th/atrama/issue037/easy-living

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน. (2564). ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal). สืบค้นจาก https://www.tosh.or.th/covid-19/index.php/new-normal

Alagawany, M., Attia,Y. A., Farag, M. R., Elnesr, S. S., Nagadi,S. A., Shafi, M. E., . . . Abd El-Hack, M. E. (2021). The strategy of boosting the immune system under the COVID-19 Pandemic. Retrieved from https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fvets.2020.570748/full

Aschwanden, C. (2021). To boost immunity, forget ‘magic pills.’ Focus on sleep, exercise, diet and cutting stress. Retrieved from https://www.washingtonpost.com/health/boosting-your-immune-system/2021/01/29/256fd52c-3fc4-11eb-8db8-395dedaaa036_story.html

Bedosky, L. (2020). 7 Ways to Keep Your Immune System Healthy. Retrieved from https://www.everydayhealth.com/columns/white-seeber-grogan-the-remedy-chicks/ten-simple-natural-ways-to-boost-immune-system/

Ellis, M. (2021). How have COVID-19 pandemic lockdowns affected our immune systems?. Retrieved from https://www.medicalnewstoday.com/articles/how-have-pandemic-lockdowns-affected-the-immune-system

Philips healthcare. (2021). Seeking solutions: How COVID-19 changed sleep around the world. Retrieved from https://www.usa.philips.com/c-dam/b2c/master/experience/smartsleep/world-sleep-day/2021/philips-world-sleep-day-2021-report.pdf}

Seow, J., Graham, C., Merrick, B., Acors, S., Steel, K. J. A., Hemmings, O., & Doores, K. J. (2020). Longitudinal evaluation and decline of antibody responses in SARS-CoV-2 infection. medRxiv. Retrieved from https://www.medrxiv.org/content/10.1101/2020.07.09.20148429v1)

Scher, B. (2021). Boosting your immune system to fight the coronavirus: What you need to know. Retrieved from https://www.dietdoctor.com/coronavirus

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30