บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการยาความเสี่ยงสูง

ผู้แต่ง

  • นุชพร ดุมใหม่ สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • จันทร์ทิรา เจียรณัย สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • สาดี แฮมิลตัน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

ยาความเสี่ยงสูง, การบริหารจัดการยา, บทบาทพยาบาล

บทคัดย่อ

การบริหารจัดการยาความเสี่ยงสูงเป็นแนวทางปฏิบัติในประเด็นความปลอดภัยด้านยาที่โรงพยาบาลทุกระดับต้องให้ความสำคัญ  พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการบริหารยาเหล่านี้โดยเฉพาะขั้นตอนการบริหารยา การเฝ้าระวัง ติดตาม ตลอดจนบันทึกข้อมูลผลการใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ทั้งนี้เพื่อช่วยลดและป้องกันการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยาและอันตรายจากการใช้ยาความเสี่ยงสูงเหล่านั้น  บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอบทบาทของพยาบาลในการบริหารจัดการยาความเสี่ยงสูงเพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ป่วย โดยสาระของบทความมี 4 ประเด็น ประกอบด้วย    1) คำจำกัดความยาความเสี่ยงสูง 2) กระบวนการบริหารจัดการยาความเสี่ยงสูง 3) บทบาทพยาบาลในการบริหารจัดการยาความเสี่ยงสูง และ 4) แผนการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาความเสี่ยงสูง   บทความนี้เป็นประโยชน์สำหรับโรงพยาบาลในการปรับปรุงและพัฒนาเชิงระบบให้เกิดความปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วยและบุคลากรทางสุขภาพ

Author Biography

นุชพร ดุมใหม่, สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Institute of Nursing, Assistant Professor

References

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2564). แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข ฉบับปรับปรุง วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2564. สืบค้นจาก https://covid19.dms.go.th/backend/Content/Content_File/Covid_Health/Attach/25640506163611PM_CPG_COVID_v.14_n_20210506.2.pdf

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข. (2550). นโยบายระดับชาติด้านความปลอดภัยของผู้ป่วย 2550 – 2551. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักคณะกรรมการอาหารและยา. (2563). สรุปรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปี พ.ศ.2562. นนทบุรี: ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ.

กิตติพนธ์ เครือวังค์. (2563). ความคลาดเคลื่อนทางยา. วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข, 4(2), 251-265.

คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. (2563). คู่มือการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นครราชสีมา: คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด โรงพยาบาลศิริราช. (2560). คู่มือการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง High alert drug (พิมพ์ครั้งที่ 4). สืบค้นจาก https://www2.si.mahidol.ac.th/km/cop/clinical/medicationsafety/highalertdrug/7684/

จันทิมา ชูรัศมี. (2562). ความคลาดเคลื่อนทางยาและการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด. วารสารเภสัชกรรมไทย, 11(4), 743-753.

ฉัตราภรณ์ ชุ่มจิต, และเยาวลักษณ์ อ่ำรําไพ. (2009). การจัดการระบบยาเพื่อความปลอดภัยด้านยาในโรงพยาบาล: บทวิเคราะห์ปัญหาและโอกาสในการพัฒนา. Thai Pharmaceutical and Health Science Journal, 4(1), 127-135.

เพียงเพ็ญ ชนาเทพาพร, ศมน อนุตรชัชวาลย์, และเพียงขวัญ นครรัตนชัย. (2557). การพัฒนาระบบการประสานรายการยาบนหอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิง โรงพยาบาลศรีนครินทร์. ศรีนครินทร์เวชสาร. 29(3), 276-282.

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). (2561). เป้าหมายความปลอดภัยของผู้ป่วยของประเทศไทย พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ: เฟมัส แอนด์ ซัคเซสฟูล.

Gyawali, B., Ramakrishna, K., & Dhamoon, A. S. (2019). Sepsis: The evolution in definition, pathophysiology, and management. SAGE Open Medicine, 7, 1-13.

Joshi, S., Parkar, J., Ansari, A., Vora, A., Talwar, D., Tiwaskar, M., . . . Barkate, H. (2021). Role of favipiravir in the treatment of COVID-19. International Journal of Infectious Diseases, 102, 505-508.

Kaur, R. J., Charan, J., Dutta, S., Sharma, P., Bhardwaj, P., Sharma, P., . . . Haque, M. (2020). Favipiravir use in COVID-19: Analysis of suspected adverse drug events reported in the WHO database. Infection and Drug Resistance, 13, 4427-4438.

Institute for Safe Medication Practices [ISMP]. (2018). High-alert medications in acute care settings. Retrieved from https://www.ismp.org/recommendations/high-alert-medications-acute-list

Laatikainen, O., Sneck, S., & Turpeinen, M. (2020). The risks and outcomes resulting from medication errors reported in the Finnish tertiary care units. Frontiers in Pharmacology, 10, 1-11.

Lopes, R. D., Rordorf, R., De Ferrari, G. M., Leonardi, S., Thomas, L., Wojdyla, D. M., . . .Vinereanu, D. (2018). Digoxin and mortality in patients with atrial fibrillation. Journal of the American College of Cardiology, 71(10), 1063-1074.

Rhodes, A., Evans, L. E., Alhazzani, W., Levy, M. M., Antonelli, M., Ferrer, R., . . . Nunnally, M. E. (2017). Surviving sepsis campaign: International guidelines for management of sepsis and septic shock 2016. Intensive Care Medicine, 43(3), 304-377.

Sanders, J. M., Monogue, M. L., Jodlowski, T. Z., & Cutrell, J. B. (2020). Pharmacologic treatments for coronavirus disease 2019 (COVID-19): A review. The Journal of the American Medical Association, 323(18), 1824-1836.

Tyynismaa, L., Honkala, A., Airaksinen, M., Shermock, K., & Lehtonen, L. (2021). Identifying high-alert medications in a university hospital by applying data from the medication error reporting system. Journal of Patient Safety, 17(6), 417-424.

Younis, I., Shaheen, N., & Bano, S. (2021). Knowledge & practice about administration of high alert medication in the tertiary care hospital in Lahore. International Journal of Health, Medicine and Nursing Practice, 3(4), 1-16.

World Health Organization [WHO]. (2017). Medication without harm. Retrieved from https://www.who.int/initiatives/medication-without-harm

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30