การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ: ทฤษฎีการดูแลตนเองและการประยุกต์ใช้ ทฤษฎีระบบการพยาบาล

ผู้แต่ง

  • จันทร์ทิรา เจียรณัย สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • อาทินุช เบญจะรักษ์ หอผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • กนกนาถ กิ่งสันเทียะ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • สุรางคนา พรหมมาศ แผนกหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

คำสำคัญ:

ข้อวินิจฉัยการพยาบาล, ผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ, ทฤษฎีการดูแลตนเอง, ทฤษฎีระบบการพยาบาล, การประยุกต์ใช้

บทคัดย่อ

เครื่องช่วยหายใจเป็นอุปกรณ์ช่วยชีวิตที่ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีภาวการณ์หายใจล้มเหลวโดยทำหน้าที่ช่วยให้การแลกเปลี่ยนก๊าซของปอดเป็นปกติ และช่วยลดการทำงานของกล้ามเนื้อช่วยหายใจ ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจถือว่าเป็นผู้ป่วยที่อยู่ในระยะวิกฤต พยาบาลเป็นบุคคลสำคัญเพราะเป็นผู้ที่เฝ้าติดตามอาการของผู้ป่วยตลอดเวลา และเป็นผู้ที่สังเกตเห็นอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ดังนั้นพยาบาลจึงต้องมีความรู้และความสามารถในการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ทั้งความรู้ทางพยาธิสภาพของการเจ็บป่วยและความรู้เฉพาะทางการพยาบาลต่างก็มีความสำคัญสำหรับพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเหล่านี้แบบองค์รวม บทความนี้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการใส่ท่อช่วยหายใจและการใช้เครื่องช่วยหายใจ ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม และการประยุกต์ใช้ทฤษฎีระบบการพยาบาล ในการเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาล และวางแผนการพยาบาลสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้ท่อช่วยหายใจ โดยบูรณาการความรู้ด้านพยาธิสรีรวิทยา และเทคโนโลยีการช่วยหายใจ ซึ่งจะช่วยให้พยาบาลสามารถให้การดูแลผู้ป่วยได้อย่างมั่นใจและมีประสิทธิภาพ

Author Biography

กนกนาถ กิ่งสันเทียะ , โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

 

 

References

ขวัญฤทัย พันธุ. (2564). การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. (2564). แนวทางการป้องกันปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ใหญ่. สืบค้นจาก https://www2.si.mahidol.ac.th/km/cop/sicop/sictt/16798/

จันท์ทิรา เจียรณัย, และศรัญญา จุฬารี. (2562). แนวคิดพื้นฐานของศาสตร์ทางการพยาบาล. นครราชสีมา:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

จันทร์ทิรา เจียรณัย. (2558). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการผันแปรออกซิเจนและการระบายอากาศ. นครราชสีมา: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

จันทร์ทิรา เจียรณัย, ณัฐฐิตา เพชรประไพ, ศรัญญา จุฬารี, วริธร ประวัติวงศ์, รวีวรรณ พงษ์พุฒิพัชร, และสิริกร ขาวบุญมาสิริ. (2561). การดูดเสมหะแบบระบบปิดในผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ : การทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์. ราชาวดีพยาบาลสาร, 8(1), 82-93.

จันทร์เพ็ญ เนียมวัน, เดือนแรม เรืองแสน, และวราทิพย์ แก่นสาร. (2563). สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพในการพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 38(1), 6-14.

ฐิติ ศรีเจริญชัย. (2559). Ventilator for the beginners: When to start invasive ventilation and what to gve? ใน ดุสิต สถาวร, และครรชิต ปิยะเวชวิรัตน์ (บรรณาธิการ), All about critical care: Toward critical care excellence (น. 145-164). นนทบุรี: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด.

นันทิกานต์ กลิ่นเชตุพร, และศิริพร สว่างจิตร. (2561). ความพร้อมของผู้ป่วยกับความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ. วารสารพยาบาลทหารบก, 19(2), 79-85.

เพชร วัชรสินธุ์. (2563). Endotracheal intubation. ใน สุทัศน์ รุ่งเรืองหิรัญญา, เพชร วัชรสินธุ์, ภัทริน ภิรมย์พานิช, ชายวุฒิ สววิบูลย์, และณับพลิกา กองพลพรหม (บรรณาธิการ), ICU survival guide (พิมพ์ครั้งที่ 2, น. 172-176). นครปฐม: สินทวีกิจ พริ้นติ้ง.

ศุทธิจิต ภูมิวัฒนะ. (2563). การพยาบาลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจชนิด Invasive จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ. วชิรสารการพยาบาล, 22(1), 70-91.

สุทัศน์ รุ่งเรืองหิรัญญา. (2563). Basic principles of critical care. ใน สุทัศน์ รุ่งเรืองหิรัญญา, เพชร วัชรสินธุ์, ภัทริน ภิรมย์พานิช, ชายวุฒิ สววิบูลย์, และณับพลิกา กองพลพรหม (บรรณาธิการ), ICU survival guidebook (พิมพ์ครั้งที่ 2, น. 2-8). นครปฐม: สินทวีกิจ พริ้นติ้ง.

สุนันทา ครองยุทธ. (2559). การจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันของผู้ป่วยไอ ซี ยู. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 23(4), 89-99.

สมจิต หนุเจริญกุล. (2544). การดูแลตนเองกับทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม. ใน สมจิต หนุเจริญกุล (บรรณาธิการ), การพยาบาล: ศาสตร์ของการปฏิบัติ (น. 115-136). กรุงเทพฯ: หจก. วี. เจ. พริ้นติ้ง.

Chaichumkhun, J. (2021). ยอดผู้ป่วยอาการหนักใส่ท่อช่วยหายใจเพิ่มทุกวัน สรุปสถิติผู้ติดเชื้อ COVID-19 ย้อนหลัง 10 วัน. สืบค้นจาก https://thematter.co/quick-bite/stat-daily-cases-in-10-days/148064

Dar, M., Swamy, L., Gavin, D., & Theodore, A. (2021). Mechanical-ventilation supply and options for

the COVID-19 pandemic. Leveraging all available resources for a limited resource in a crisis.

Annals of the American Thoracic Society, 18(3), 408-416. doi: 10.1513/AnnalsATS.202004-317CME

Didisen, N. A., Binay, S., & Yardimsi, S. (2017). Orem’s self-care deficit theory and nursing care in relation to pneumonia: A case report. Studies on Ethno-Medicine, 11(4), 311-317.

Orem, D. E. (1985). Nursing: Concepts of practice (3rd ed.). NY: McGraw-Hill.

Riegel, B., Jaarsma, T., Lee, C. S., & Strömberg, A. (2019). Integrating symptoms into the middle-range theory of self-care of chronic illness. Advances in Nursing Science, 42(3), 206–215. doi: 10.1097/ANS.0000000000000237

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-10