การดูแลมารดาหลังคลอดในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อโควิด -19

ผู้แต่ง

  • ณัชชา วรรณนิยม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จังหวัดนครราชสีมา
  • ปณิตา ปรีชากรกนกกุล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จังหวัดนครราชสีมา
  • วารินทร์ วัฒนานนท์เสถียร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จังหวัดนครราชสีมา

คำสำคัญ:

โควิด -19

บทคัดย่อ

เชื้อโควิด -19 เป็นเชื้อไวรัสที่ทำให้เกิดโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus disease 2019 [COVID -19]) ซึ่งทำให้มีอาการหลักคือ มีไข้ ไอ หายใจลำบาก หายใจเหนื่อย เจ็บคอ และมีน้ำมูก และมีการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างรวดเร็ว หากเกิดการติดเชื้ออาจไม่แสดงอาการ หรือมีอาการไม่รุนแรง ไปจนถึงอาการรุนแรง โดยเฉพาะปัญหาระบบทางเดินหายใจ และอาจทำให้เสียชีวิตได้ มารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดที่ติดเชื้อเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดูแลมารดาหลังคลอดและทารกรวมไปถึงการให้นมบุตร การจัดการในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดอาจส่งผลให้มารดามีความวิตกกังวล ดังนั้นบทความวิชาการนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางสำหรับพยาบาลผดุงครรภ์ ในการดูแลมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดที่ติดเชื้อหรือเสี่ยงต่อการติดเชื้อ รวมไปถึงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด -19 เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อมารดาและทารก และช่วยส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดา ทารก และครอบครัว

References

กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค. (2565). นิยามและแนวทางปฏิบัติตามมาตรการป้องกันควบคุมโรคสำหรับผู้สัมผัสใกล้ชิดเสี่ยง. สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g_srrt/g_srrt_130165.pdf

กรมการแพทย์. (2565). แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19). สืบค้นจาก https://covid19.dms.go.th/backend/Content/Content_File/Covid_Health/Attach/25641103093725AM_update-CPG_COVID_v19.5_n_02211102.pdf

กรมควบคุมโรค. (2563). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019. สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/

กรมควบคุมโรค. (2565). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019. สืบค้นจาก https://ddcportal.ddc.moph.go.th/portal/

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หลังคลอดและทารกแรกเกิดภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19. สืบค้นจาก http://phrae.go.th/covid/img/new/new270363.pdf

ชนม์นิภา นามแสง. (2551). Drug in pregnancy and lactation. สืบค้นจาก http://nnt.pharm.su.ac.th/dis/sites/default/files/answer/647/Drug%20in%20Pregnancy%20and%20Lactation_0.pdf

พัชรินทร์ เงินทอง. (2564). คำแนะนำในการดูแลสตรีในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและหลังคลอดระหว่างการแพร่ระบาดโควิด -19: การทบทวนวรรณกรรมแบบกำหนดขอบเขต. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. 22(42), 10 – 29.

ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย. (2563). การดูแลรักษาสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อโควิด –19. สืบค้นจาก https://covid19.dms.go.th/backend/Content/Content_File/Covid_Health/Attach/25630324214133PM_CPG-Covid-Preg-20Mar20.pdf

ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย. (2564). การดูแลรักษาสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อโควิด –19. สืบค้นจาก http://www.rtcog.or.th/home/wp content/uploads/2021/08/CPG-Covid-Preg-V6-20Aug21.pdf

วรรณภา กาวิละ, พูลทรัพย์ ลาภเจียม, และวราภรณ์ บุญยงค์. (2563). การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาในยุค COVID-19. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา, 21(2), 14-27.

สุธิดา อินทรเพชร, เอมอร บุตรอุดม, สุธิดา สิงห์ศิริเจริญกุล, และทิพวรรณ ทัพซ้าย. (2564). ผลกระทบของการติดเชื้อโควิด-19 และหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้องในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี, 46(3), 253-262.

สุสิทธิ์ ชัยทองวัฒนา. (2564). วัคซีนโควิด -19 กับสตรีที่ตั้งครรภ์และให้นมบุตร. สืบค้นจาก

https://chulalongkornhospital.go.th/kcmh/line/

Chaudhary, V., Puri, M., Kukreti, P., Chhapola, V., Kanwar, D., Tumpati, A., . . . Singh, G. (2021). Postpatum depression in Covid -19 risk – stratified hospital zones: A cross – section study from India. Journal of Affective Disorders Reports, 6(100269), 1 – 6. https://doi.org/10.1016/j.jadr.2021.100269

Chen, H., Guo, J., Wang, C., Luo, F., Yu, X., Zhang, W., . . . Zhang, Y. (2020). Clinical characteristics and intrauterine vertical transmission potential of COVID-19 infection in nine pregnant women: A retrospective review of medical records. National Library of Medicine, 395(10226), 809-815.

Cox, J. L., Holden, J. M., & Sagovsky, R. (1987). Detection of postnatal depression: Development of the 10 item Edinburg Postnatal Depression Scale. British Journal of Psychiatrics: Journal of Mental Science, 150, 782-786.

Hapshy, V., Aziz, D., Kahar, P., Khanna, D., Johnson, K. F., & Parmar, M. S. (2021). Covid-19 and pregnancy: Risk, symptoms, diagnosis, and treatment. Nature Public Health Emergency Collection, 3(7), 1477-1483. https://doi.org/10.1007/s42399-021-00915-2

Huntley, B. J., Huntley, E. S., Di Mascio, D., Chen, T., Berghella, V., & Chauhan, S. P. (2020). Rates of maternal and perinatal mortality and vertical transmission in pregnancies complicated by severe acute respiratory syndrome coronavirus 2 (SARS-CoV-2) infection: A systematic review. Obstetrics and Gynecology, 136(2), 303–312. https://doi.org/10.1097/AOG.0000000000004010

Ng, Y. P. M., Low, Y. F., Goh, X. L., Fox, D., & Amin, Z. (2020). Breastfeeding in COVID-19: A pragmatic approach. American Journal of Perinatology, 37, 1377-1384. https://doi.org/10.1055/s-0040-1716506

Pitanupong, J., Liabsuetrakul, T., & Vittayanont, A. (2007). Validation of the Thai Edinburgh Postnatal Depression Scale for screening postpartum depression. Psychiatry Research, 149, 253-259.

Vogel, J. P., Tendal, B., Giles, M., Whitehead, C., Burton, W., Chakraborty, S., . . . Homer, C. S. (2020). Clinical care of pregnant and postpartum women with COVID-19: Living recommendations from the National COVID-19 Clinical Evidence Taskforce. Obstetrics and Gynaecology, 60, 840–851. https://doi.org/10.1111/ajo.13270

World Health Organization. (2021). Coronavirus Disease (COVID-19). Retrieved from https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/question-and-answers-hub/q-a-detail/coronavirus-disease-covid-19

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-17