บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคเกาต์
คำสำคัญ:
เกาต์, บทบาทพยาบาล, การดูแลบทคัดย่อ
โรคเกาต์เป็นโรคข้ออักเสบเฉียบพลันที่พบบ่อยที่สุดในปัญหาโรคกระดูกและข้อซึ่งส่งผลกระทบด้านสาธารณสุขในหลายประเทศทั่วโลกในปัจจุบัน โรคเกาต์เกิดจากการมีระดับของกรดยูริกในเลือดสูงกว่าปกติ จนทำให้เกิดผลึกของเกลือโมโนโซเดียมยูเรตที่บริเวณข้อและเนื้อเยื่อรอบข้อ ส่งผลให้เกิดกระบวนการอักเสบของข้อ ทำให้ผู้ป่วยทุกข์ทรมานจากอาการปวดข้อที่รุนแรง หากผู้ป่วยมีระดับกรดยูริกในเลือดสูงอย่างต่อเนื่องจะเกิดการสะสมของเกลือโมโนโซเดียมยูเรตจนจับตัวกันเป็นปุ่มโทฟัส บริเวณข้อและเนื้อเยื่อรอบข้อ และผิวหนัง ซึ่งทำให้เกิดข้อจำกัดด้านการเคลื่อนไหว ในผู้ป่วยบางรายอาจเกิดภาวะทุพพลภาพ นอกจากนี้แล้วโรคเกาต์ยังมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคร่วมต่าง ๆ อีกทั้งยังเพิ่มอัตราการเสียชีวิตและทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความรู้เกี่ยวกับโรคเกาต์และบทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคเกาต์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับพยาบาลในการประยุกต์ใช้ความรู้ดังกล่าวเพื่อดูแลผู้ป่วยโรคเกาต์อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านการลดความรุนแรงของโรคและการส่งเสริมให้ผู้ป่วยดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
References
กนกรัตน์ นันทิรุจ, กุลศิริ ธรรมโชติ, เกียรติ ภาสภิญโญ, ขวัยฤทัย ศรีพวากุล, จินตาหรา มังคะละ, ชยวี เมืองจันทร์, . . . เอมวดี อารมณ์ดี. (2555). แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคเกาต์ (Guideline for management of gout). สืบค้นจาก https://thairheumatology.org/index.php/learning-center/for-physician/for-physician-3?view=article&id=70:1-26&catid=16
กรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก. (2565). สมุนไพรไทย ช่วยลดอาการปวดเกาต์ ช่วงเทศกาลตรุษจีน. สืบค้นจาก https://www.dtam.moph.go.th/index.php/th/dtam-news/dn/8061-dn0065.html
กรมสุขภาพจิต. (2564). เช็คบิลคลายเครียด. สืบค้นจาก https://dmh.go.th/news/view.asp?id=2301#
กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2560). การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ. สืบค้นจาก http://thaincd.com/document/file/download/powerpoint
จันทนา ศิริพรหมภัทร. (2556). โรคเกาต์และการรักษาในเชิงทฤษฎีการแพทย์แผนไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยรังสิต, กรุงเทพฯ.
จินตาหรา มังคะละ. (2565). การรักษาผู้ป่วยโรคเกาต์ที่มีไตเสื่อมเรื้อรัง. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 31(1), 133 – 143.
ชุติมา เพ็ชรกระจ่าง, ปิยนุช โรจน์สง่า, และนริสรา รักดี. (2559). โครงการ การหาปริมาณพิวรีนและกรดยูริกในผักพื้นบ้านไทย: รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สืบค้นจาก http://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:58432
นวลขนิษฐ์ ลิขิตลือชา, ธีรพร สถิรอังกูร, และทิพย์สุดา ลาภภักดี. (2556). การพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
พรฑิตา ชัยอำนวย. (2559). ระบาดวิทยาของโรครูมาติก. สืบค้นจากhttp://www.thaiarthritis.org/people23.php
ยุวดี สารบูรณ์. (2564). การพยาบาลผู้ป่วยโรคเกาต์. ใน สุภาพ อารีเอื้อ (บรรณาธิการ), การพยาบาลออโธปิดิกส์ จากหลักฐานเชิงประจักษ์สู่การปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิก (หน้า 134 - 156). กรุงเทพฯ: ไอดี ออล ดิจิตอล พริ้นท์.
สมศรี เผ่าสวัสดิ์, ศัลยเวทย์ เลขะกุล, ธรีชัย ฉันทโรจน์ศิริ, บุญรัตน์ เอื้อสุดกิจ, กิฎาพล วัฒนกูล, ชาตรี บานชื่น, . . . ชยวี เมืองจันทร์. (2561). น้ำตาล ความอ้วน ยูริกกับโรคเกาต์. กรุงเทพฯ: เฮลธ์ เวิร์ค พลัส.
สุปราณี แจ้งบำรุง, ลัดดา เหมาะสุวรรณ, เบ็ญจลักษณ์ ผลรัตน์, อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ, เอมอร อุดมเกษมาลี, นลินี จงวิริยะพันธุ์, . . . อาณดี นิติธรรมยง. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ.2563. กรุงเทพฯ: เอ.วี.โปรเกรสซีฟ.
สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2555). อาหารโรคเกาต์. สืบค้นจาก http://nutrition.anamai.moph.go.th
อรรถวิทย์ ไพรผุย. (2562). คุณสมบัติในการยับยั้งแซนทีนออกซิเดสของสารสกัดจากใบย่านาง (Tillacora triandra) และองค์ประกอบสำคัญทางเคมี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
อัจฉรา กุลวิสุทธิ์. (2559). โรคเกาต์ (Gout). สืบค้นจาก https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=1217
Cairns, I., Lindsay, K., Dalbeth, N., Díaz – Torne, D., Pou, M. A., Diez, B. R., . . . Taylor, W. J. (2020). The impact of gout as described by patients, using the lens of The International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF): A qualitative study. BMC Rheunatology, 4(50), 1-9. https://doi.org/10.1186/s41927-020-00147-2
Chandratre, P., Mallen, C., Richardson, J., Muller, S., Hider, S., Rome, K., . . . Roddy, E. (2018). Health-related quality of life in gout in primary care: Baseline findings from a cohort study. Seminars in Arthritis & Rheumatism, 48(1), 61–69. https://doi.org/10.1016/j.semarthrit.2017.12.005
Chaplin, S. (2018). British society for rheumatology guideline on gout. Prescriber, 29(1), 29–32. https://doi.org/10.1002/psb.1641
Dalbeth, N., Merriman, T. R., & Stamp, L. K. (2016). Gout. Lancet, 388(10055), 2039 – 2052. https://doi.org/10.1016/S0140-6736(16)00346-9
Danve, A., Seha, S. T., & Neogi, T. (2021). Role of diet in hyperuricemia and gout. Best Practice & Research Clinical Rheumatology, 33(2), 135 – 144. https://doi.org/10.1016/j.berh.2021.101723
Dowell, A., Morris, C., Macdonald, L., & Stubbe, M. (2017). “I can’t bend it and it hurts like mad”: Direct observation of gout consultations in routine primary health care. BMC Family Practice, 18(91), 1–11. https://doi.org/10.1186/s12875-017-0662-9
Frecklington, M., Dalbeth, N., McNair, P., Gow, P., Williams, A., Carroll, M., & Rome, K. (2018). Footwear interventions for foot pain, function, impairment and disability for people with foot and ankle arthritis: A literature review. Seminar in Arthritis and Rheumatism, 47(6), 814 – 824. https://doi.org/10.1016/j.semarthrit.2017.10.017
Fu, T., Cao, H., Yin, R., Zhang, L., Zhang, Q., Li, L., . . . Gu, Z. (2018). Depression and anxiety correlate with disease-related characteristics and quality of life in Chinese patients with gout: A case-control study. Psychology, Health & Medicine, 23(4), 400 – 410. https://doi.org/10.1080/13548506.2017.1378819
Hui, M., Carr, A., Cameron, S., Davenport, G., Doherty, G., Forrester, H., . . . Roddy, E. (2017). The British society for rheumatology guideline for the management of gout. Rheumatology, 56(7), e1–e20. https://doi.org/10.1093/rheumatology/kex156
Lam, G., Ross, F. L., & Chiu, E. S. (2017). Nonhealing ulcers in patients with tophaceous gout: A systematic review. Advances in Skin & Wound Care, 30(5), 230-237. https://doi.org/10.1097/01.asw.0000515456.65405.56
Li, R., Yu, K., & Li, C. (2018). Dietary factors and risk of gout and hyperuricemia: A meta – analysis and systematic review. Asia Pacific Journal Clinic Nutrition, 27(6), 1344 – 1356. https://doi.org/10.6133/apjcn.201811_27(6).0022
Neogi, T., Jansen, T. L. T. A., Dalbeth, N., Fransen, J., Schumacher, H. R., Berendsen, D., . . .Vaquez-Mellado, J. (2015). 2015 Gout classification criteria: An American college of rheumatology/European league against rheumatism collaborative initiative. Annals of the Rheumatic Diseases, 74(10), 1789 –1798. http://dx.doi.org/10.1136/annrheumdis-2015-208237
Pascart, T., & Lioté, F. (2019). Gout: State of the art after a decade of developments. Rheumatology, 58(1), 27-44. https://doi.org/10.1093/rheumatology/key002
Ragab, G., Elshahaly, M., & Bardin, T. (2017). Gout: An old disease in new perspective – A review. Journal of Advance Research, 8(5), 495 – 511. https://doi.org/10.1016%2Fj.jare.2017.04.008
Yisireyili, M., Hayashi, M., Wu, H., Uchida, Y., Yamamoyo,K., Kikuchi, R., . . . Takeshita, K. (2017). Xanthine oxidase inhibition by febuxostat attenuates stress-induced hyperuricemia, glucose dysmetabolism, and prothrombotic state in mice. Scientific Reports, 7(1266), 1-15. https://doi.org/10.1038/s41598-017-01366-3
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล ซึ่งดำเนินการโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล หรือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว