บทบาทพยาบาลในการดูแลมารดาหัวนมสั้น
คำสำคัญ:
บทบาทพยาบาล, การดูแลมารดา, หัวนมสั้นบทคัดย่อ
การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาเพียงอย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรก มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะทำให้ทารกได้รับสารอาหารจำเป็นครบถ้วน ได้รับภูมิคุ้มกันจากแม่ และสร้างเสริมความผูกพันระหว่างมารดาและทารก แต่ในภาวะปัจจุบันพบว่าอัตราการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือนแรกของประเทศไทยต่ำกว่าเป้าหมายของประเทศ และต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของทั่วโลกอยู่มาก สาเหตุหนึ่งที่ส่งผลให้การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาไม่ประสบผลสำเร็จคือมารดาหลังคลอดมีภาวะหัวนมสั้น บทความนี้จะกล่าวถึงการประเมินและแก้ไขปัญหาหัวนมสั้นตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์จนถึงระยะหลังคลอด พยาบาล หรือบุคลากรการแพทย์สามารถใช้เป็นแนวทางในการให้คำแนะนำแก่มารดาในการแก้ไขปัญหาหัวนมสั้น และการติดตามแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดามีประสิทธิภาพ และประสบความสำเร็จต่อไป
References
จตุพร เพิ่มพรสกุล, ปิยรัตน์ รอดแก้ว, และอุทุมพร ดุลยเกษม. (2564). ผลของการใช้นวัตกรรมการสร้างหัวนมต่อความสำเร็จของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาหลังผ่าตัดคลอดที่มีหัวนมสั้น. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(2), 154 -167.
ชุดาณัฏฐ์ ขุนเพชร, และศศิกานต์ กาละ. (2561). ประสบการณ์ความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาวัยรุ่นหลังคลอด. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 11(2), 1-11.
ฐิติพร แสงพลอย, ศิลปะชัย ฟั่นพะยอม, นลินี สิทธิบุญมา, และปภาดา ชมพูนิตย์. (2564). สื่อสังคมออนไลน์ : แนวทางการประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา. วารสารพยาบาลสุขภาพ, 15(1), 42-53.
ศุภวดี แถวเพีย, สุทธิดา สิงห์ศิริเจริญกุล, และวรรณพร คำพิลา. (2564). การพยาบาลมารดาหลังคลอด: แบบแผนสุขภาพ. ขอนแก่น: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น กระทรวงสาธารณสุข.
ดวงพร ผาสุวรรณ. (2563). ความสำเร็จของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน: กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม. วารสารเกื้อการุณย์, 27(1), 77-84.
นิภา เพียรพิจารณ์. (2558). คู่มือการพยาบาลการส่งเสริมสายสัมพันธ์แม่-ลูก และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในห้องคลอด. กรุงเทพฯ: งานการพยาบาลสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปัณณทัต บนขุนทด, ถาวรีย์ แสงงาม, ริรร์ พิมมานุรักษ์, และกัลยา มั่นล้วน. (2564). บทบาทพยาบาลและครอบครัวในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์, 36(2). 275-182.
ปราณี ริ้วทอง. (2560). ผลลัพธ์การแก้ปัญหาหัวนมสั้นและทารกสามารถดูดนมมารดาได้ภายในห้องคลอด 3 วัน ในโรงพยาบาลกลาง. สืบค้นจาก http://203.155.220.238/csc/attachments/article/189/nurse601106.pdf
ปิยรัตน์ จีนาพันธุ์, อัจฉรา มีนาสันติรักษ์, จตุพร เพิ่มพรสกุล, และลมัย แสงเพ็ง. (2561). ผลของนวัตกรรมการสร้างหัวนมต่อความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในมารดาหลังคลอดที่มีหัวนมสั้น. วารสารพยาบาลทหารบก, 19(3), 185-194.
ภาวิน พัวพรพงษ์. (2557). การประเมินการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. วารสารการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 21(1), 10-21.
ลมัย แสงเพ็ง, และยุวดี วิทยพันธ์. (2561). ศึกษาเปรียบเทียบผลสำเร็จของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระหว่างมารดาหัวนมสั้นกับหัวนมปกติ โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช. มหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร, 2(1), 8-18.
วรรณภา ตั้งแต่ง, ทิพวัลย์ ดารามาศ, และจริยา วิทยะศุภร. (2561). ผลของการให้โคลอสตรุ้มทางปากในทารกเกิดก่อนกำหนดต่ออัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล. รามาธิบดีพยาบาล, 24(2), 109 – 121
วรรธนันท์ ทินวัง, และดวงใจ ทองอาจ. (2558). นมแม่ดีที่หนึ่ง ลูกฉลาด แข็งแรงสมวัย. สืบค้นจาก https://hpc9.anamai.moph.go.th/web-upload/migrated/files/hpc9/n937_1f86ee470e32a70da0d4a279bb3cad10_article_20170110085952.pdf
วิไล ชินธเนศ, ธันวา ตันสถิตย์, และมนตกานต์ ตันสถิตย์. (2563). กายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา.
ศรุตยา รองเลื่อน. (2553). คู่มือการประเมิน/การแก้ไขหัวนมและหัวนม. สืบค้นจาก https://www2.si.mahidol.ac.th/division/nursing/sins/attachments/article/183/Nipple%20and%20Nipple%20Assessment%20%20Correction%20Guide.pdf
ศศิธารา น่วมภา, พรนภา ตั้งสุขสันต์, วาสนา จิติมา, และกันยรักษ์ เงยเจริญ. (2563). การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมและแก้ไขปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: การปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์. วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(3), 4-21.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). โครงการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ. 2562, รายงานผลฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม, และชญาดา สามารถ. (2559). ปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะหลังคลอด: ประสบการณ์ของมารดา. วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(3), 30-40.
สุสัญหา ยิ้มแย้ม. (2556). การส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน. พยาบาลสาร, 40(3), 129-137.
Buttham, S., Kongwattanakul, K., Jaturat, N., & Soontrapa, S. (2017). Rate and factors affecting non-exclusive breastfeeding among Thai women under the breastfeeding promotion program. International Journal of Women's Health, 9, 689-694. https://doi.org/10.2147/IJWH.S148464
Horta, B. L. (2019). Breastfeeding: investing in the future. Breastfeeding Medicine, 14(S1), S-11. https://doi.org/10.1089%2Fbfm.2019.0032
Layuk, N., Sinrang, A. W., & Asad, S. (2021). Early initiation of breastfeeding and gut microbiota of neonates: A literature review. Medicina Clinica Practica, 4, 100222. https://doi.org/10.1016/j.mcpsp.2021.100222
Nabulsi, M., Ghanem, R., Abou-Jaoude, M., & Khalil, A. (2019). Breastfeeding success with the use of the inverted syringe technique for management of inverted nipples in lactating women: A study protocol for a randomized controlled trial. Trials, 20(1), 1-6. https://doi.org/10.1186/s13063-019-3880-8
Thanaboonyawat, I., Chanprapaph, P., Puriyapan, A., & Lattalapkul, J. (2012). Association between breastfeeding success rate and nipple length and diameter in Thai pregnant women. Siriraj Medical Journal, 64(1), 18-21.
Thurkkada, A. P., Rajasekharan Nair, S., Thomas, S., Sreelekha, P., Sanu, S. K., Chandran, P. R., & Pillai Sreekanth, G. (2022). Effectiveness of hoffman’s exercise in postnatal mothers with grade 1 inverted nipples. Journal of Human Lactation, 08903344221102890. https://doi.org/10.1177/08903344221102890
World Health Organization (WHO). (2014). Global nutrition targets 2025: Breastfeeding policy brief. Retrieved from https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/149022/WHO_NMH_NHD_14.7_eng.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล ซึ่งดำเนินการโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล หรือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว