รับมืออย่างไรกับภาวะโภชนาการเกินในเด็กวัยเรียน: เจเนอเรชันใหม่ในยุคดิจิทัล
คำสำคัญ:
โภชนาการ, น้ำหนักเกินมาตรฐาน, เด็กวัยเรียนบทคัดย่อ
ภาวะโภชนาการเกินในเด็กวัยเรียนเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประเทศไทยที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และจะนำไปสู่การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ ได้ในอนาคต ส่งผลต่อสุขภาพทางกายและสุขภาพทางจิต มีผลกระทบต่อการเรียน การใช้ชีวิตประจำวันและคุณภาพชีวิตของเด็ก บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเกี่ยวกับแนวทางการดูแลเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินโดยเฉพาะในวัยเรียนที่เป็นเจเนอเรชันใหม่ในสังคมไทยยุคดิจิทัลที่นวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิต โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับความหมาย สาเหตุ ผลกระทบจากภาวะโภชนาการเกินในเด็ก และบทบาทของพยาบาลในการจัดการปัญหาภาวะโภชนาการเกินในเด็กวัยเรียน นำเสนอกรณีศึกษา ในการแก้ไขปัญหาเด็กวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน ซึ่งเน้นให้ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนเข้ามามีบทบาทสำคัญ โดยนำสื่อดิจิทัลต่างๆ มาประยุกต์ใช้ในการดูแลและแก้ไขปัญหาเด็กวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินให้กลับมามีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ และเจริญเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไป
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2565). ร้อยละของเด็กอายุ 6 - 14 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 12 ปี. สืบค้นจาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php?source=pformated/format1.php&cat_id=46522b5bd1e06d24a5bd81917257a93c&id=e28682b2718e6cc82b8dbb3e00f2e28e
กัญชรีย์ พัฒนา, และปราลีนา ทองศรี. (2562). โรคอ้วนในเด็กวัยเรียนและบทบาทพยาบาลอนามัยชุมชน. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง, 63(เพิ่มเติม), 133-140.
จิรภาภรณ์ ปัญญารัตนโชติ, ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ, และสมสมัย รัตนกรีฑากุล. (2560). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะโภชนาการเกินของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 25(2), 43-56.
เฉลิมพร นามโยธา, กษมา วงษ์ประชุม, นิจฉรา ทูลธรรม, และชัยวุฒิ บัวเนี่ยว. (2565). ผลของโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการเพื่อลดความชุกของภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนในเด็กวัยเรียน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 41(1), 49-61.
นฤมล เอกธรรมสุทธิ์, สิรารักษ์ เจริญศรีเมือง, ทับทิม ปัตตะพงศ์, ชลลดา ติยะวิสุทธิ์ศรี, รุ่งทิวา หวังเรืองสถิตย์, สาวิตรี ลิ้มกมลทิพย์, และธิติรัตน์ ราศิริ. (2565). ผลของบทเรียนออนไลน์ เรื่องภาวะโภชนาการเกินในเด็กต่อความรู้และทัศนคติของประชาชน.วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี. 5(1), 96-112.
ปราณี อินทร์ศรี, ปิยะนุช จิตตนูนท์, และศิริวรรณ พิริยคุณธร. (2558). การพัฒนาคู่มือปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเด็กวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 35(2), 177-190.
ปริยาภรณ์ มณีแดง. (2560). บทบาทพยาบาลอนามัยชุมชนในการป้องกันโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 35(4), 16-24.
พัชราภา ตันติชูเวช. (2560). เจเนอเรชันแอลฟา: เจเนอเรชันใหม่ในสังคมไทยสตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิภารัตน์ สุวรรณไวพัฒนะ, จุภาพร ภิรมย์ไกรภักดิ์, และวิจิตรา นวนันทวงศ์. (2562). ความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันโรคอ้วนของเด็กวัยรุ่นตอนต้น. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 6(พิเศษ), 80-90.
วิภาวี พลแก้ว, ปรางทิพย์ ทาเสนาะ เอลเทอร์, วิภารัตน์ สุวรรณไวพัฒนะ, และณัฏฐวรรณ คำแสน. (2563). การสนับสนุนทางสังคมต่อครอบครัวเด็กป่วยโรคมะเร็งในยุคสังคมสารสนเทศ. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสรรพสิทธิประสงค์, 4(3), 21-34.
ศุภลักษณ์ ศรีธัญญา. (2562). ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการทำกิจกรรมทางกายของเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีน้ำหนักเกิน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี.
ศูนย์ฝึกอบรมแพทย์ศาสตร์ศึกษา. (2562). รูปแบบการแก้ปัญหาโรคอ้วนในเด็กวัยเรียน 6 – 15 ปี โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย. ราชบุรี: ศูนย์ฝึกอบรมแพทย์ศาสตร์ศึกษา ศูนย์อนามัยที่ 5 จังหวัดราชบุรี
สมสิริ รุ่งอมรรัตน์, อาภาวรรณ หนูคง, ณัฐธิรา ไกรมงคล, และรุ่งรดี พุฒิเสถียร. (2560). การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. วารสารสภาการพยาบาล, 32(4), 120-133.
สาริษฐา สมทรัพย์. (2561). ความรอบรู้ทางสุขภาพในการจัดการภาวะน้ำหนักเกินและภาวะอ้วนในเด็กวัยเรียน. วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, 12(29), 20-33.
สำนักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2564). Thai school lunch จากดิจิทัลสู่เมนูอาหารกลางวันในโรงเรียน. ใน จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ, กุลประภา นาวานุเคราะห์, และลัญจนา นิตยพัฒน์ (บรรณาธิการ). 3 ทศวรรษ สวทช. กับการเคลื่อนประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล. ปทุมธานี: บริษัท แปลน พริ้นท์ติ้ง.
สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2562). แนวทางการคัดกรอง ส่งต่อและแก้ปัญหาเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และคลินิก DPAC (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สามเจริญพาณิชย์.
สุกัญญา คณะวาปี, และเกศินี สราญฤทธิชัย. (2565). ผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพร่วมกับโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคอ้วนในเด็กวัยเรียนที่มีภาวะน้ำหนักเกิน.วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน, 8(2), 105-118.
สุปราณี จ้อยรอด, และอาจินต์ สงทับ. (2562). บทบาทครอบครัวในการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียน. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 6(2), 270-278.
Baran, R., Baran, J., Leszczak, J., Bejer, A., & Wyszyńska, J. (2022). Sociodemographic and socioeconomic factors influencing the body mass composition of school-age children. International Journal of Environmental Research and Public Health, 19(18), 1-14. https://doi.org/10.3390/ijerph191811261
Ma, Z., Wang, J., Li, J., & Jia, Y. (2021). The association between obesity and problematic smartphone use among school-age children and adolescents: a cross-sectional study in Shanghai. BMC Public Health, 21(1), 1-11. https://doi.org/10.1186/s12889-021-12124-6
World Health Organization (WHO). (2017). Global overview child malnutrition. Retrieved from http://apps.who.int/gho/tableau-public/tpc-frame.jsp?id=402
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล ซึ่งดำเนินการโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล หรือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว