ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิต ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนกับการปรับตัวภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด – 19 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
คำสำคัญ:
ความแข็งแกร่งในชีวิต , ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน, การปรับตัวภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด - 19บทคัดย่อ
การแพร่ระบาดโรคโควิด – 19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบการศึกษา ทำให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายต้องมีการปรับตัว การวิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิต ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนกับการปรับตัวภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด - 19 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 187 คน โดยการสุ่มแบบชั้นภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่าง เดือนธันวาคม 2565 - มกราคม 2566 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิต แบบประเมินความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน และแบบประเมินการปรับตัวภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด - 19 ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.93, 0.81 และ 0.91 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตโดยรวม เท่ากับ 110.26 (SD = 10.87) ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนโดยรวมอยู่ในระดับสูง (M = 47.43, SD = 5.97) การปรับตัวภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด - 19 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (M = 4.01, SD = 0.28) ความแข็งแกร่งในชีวิตและความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับการปรับตัวภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด - 19 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = 0.241 (df = 2 ) และ r = 0.318 (df = 2 ), p value < 0.01 ตามลำดับ) พยาบาลจิตเวชและบุคลากรด้านการศึกษา ควรส่งเสริมการปรับตัวที่ดีภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด - 19 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
References
กรมควบคุมโรค. (2566). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/int_protection.php
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข . (2566). สรุปรายงานเหตุการณ์ที่สำคัญทางระบาดวิทยา. https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1426920230519085830.pdf
กรรณิการ์ แสนสุภา, เอื้อทิพย์ คงกระพันธ์, อุมาภรณ์ สุขารมณ์, และผกาวรรณ นันทะเสน. (2563). การปรับตัวของนักศึกษาในสถานการณ์โควิด-19. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2), 83 - 97.
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (2564). หากประเทศไทยไม่มีเด็กหลุดจากระบบการศึกษา GDP จะเพิ่มขึ้น 3%. https://www.eef.or.th/infographic-24-06-21/
กานต์ จำรูญโรจน์. (2563). 5 วิธีฟื้นฟูจิตใจผ่านวิกฤตโควิด 19. รามาแชนแนล ขับเคลื่อนสังคมไทยให้สุขภาพดี. https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/covid-19/
งานโรคติดต่ออุบัติใหม่ กลุ่มพัฒนาวิชาการโรคติดต่อ. (2564). สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการสาธารณสุข และปัญหาอุปสรรคการป้องกันควบคุมโรคในผู้เดินทาง. https://ddc.moph.go.th/uploads/files/2017420210820025238.pdf
ชุติมา จิรัฐิเกรียงไกร, นพพร ว่องสิริมาศ, วารีรัตน์ ถาน้อย, และสุภาภัค เภตราสุวรรณ. (2564). ปัจจัยทำนายสุขภาวะทางจิตใจในวัยรุ่นตอนปลาย. วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(2), 77-89.
ณรงค์กร ชัยวงศ์, และณิชาภัทร มณีพันธ์. (2563). ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อการปรับตัวของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี, 28(3), 315 – 325.
ดวงทิพย์ เจริญรุกข์. (2566). การปรับตัวของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต ในสถานการณ์โควิด 19. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์, 27(1), 132 – 140.
ตรีนุช ไพชยนต์วิจิตร, และสรัลชนา ธิติสวรรค์. (2565). ผลกระทบการแพร่ระบาดของโควิด -19 ต่อการศึกษา. http://www.eco.ru.ac.th/images/document/article/TreeNut/publish02-02.pdf
เทื้อน ทองแก้ว. (2563). การออกแบบการศึกษาในชีวิตวิถีใหม่: ผลกระทบจากการแพร่ระบาด COVID – 19.คุรุสภาวิทยาจารย์, 1(2), 1 – 10.
นงลักษณ์ วิชัยรัมย์, จิณห์จุฑา ชัยเสนา ดาลลาส, ชนัดดา แนบเกษร, และเวทิส ประทุมศรี. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวด้านจิตสังคมและการมองโลกทางบวกกับการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการควบคุมพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่น. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 26(2), 65 – 75.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 10). สุวีริยาสาส์น.
ปฐพร แสงเขียว, ดุจเดือน เขียวเหลือง, สิตานันท์ ศรีใจวงศ์, สืบตระกูล ตันตลานุกุล, และปุณยนุช ชมคำ. (2565). ความเข้มแข็งทางใจ และการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาลในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 14(1), 62 – 77.
ประภาศรี ปัญญาวชิรชัย, และภวมัย กาญจนจิรางกูร. (2565). การศึกษาความเข้มแข็งทางใจ (Resilience Quotient) ของประชาชนไทยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 15(1), 318 – 333.
พัชรินทร์ นินทจันทร์. (2558). ความแข็งแกร่งในชีวิต: แนวคิด การประเมิน และการประยุกต์ใช้. จุดทอง.
พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และทัศนา ทวีคูณ. (2555). โปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต. จุดทอง.
มัณฑนา นธีธาร. (2546). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของเด็กวัยรุ่น ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. [วิทยานิพนธ์ปริญามหาบัณฑิตไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เมธาสิทธิ์ ธัญรัตนศรีสกุล, อุไรรัตน์ เอี่ยมสะอาด, นิตยา สิงห์ทอง, ขวัญฤดี ไพบูลย์, ชุติมา แช่มแก้ว, ปิยธิดา แจ่มสว่าง, กาญจน์ ศรีสวัสดิ์, และมนต์เมืองใต้ รอดอยู่. (2564). การปรับตัวภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนราชินีบูรณะ. วารสารสังคมศาสตร์วิจัย, 12(1), 212 - 228.
วรรษชล ไชยมงคล, และอารยา ผลธัญญา. (2565). รูปแบบความผูกพันระหว่างเพื่อนร่วมวัยและกลวิธีเผชิญปัญหาภาวะหมดไฟในการเรียน: กรณีศึกษานักศึกษาจิตวิทยาคลินิก. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย, 53(2), 77 – 94.
วิเชียร เกตุสิงห์. (2534). คู่มือการวิจัย: การวิจัยเชิงปฏิบัติ. ม.ป.ท.
ศิริพร ณ นคร, พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน และนันทิยา เอกอธิคมกิจ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ อายุ เหตุการณ์ ที่สร้างความยุ่งยากใจ ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน และการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมกับความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาสไทยในจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 34(2), 77-98.
สมดี อนันต์ปฏิเวธ, นันนภัส แววกระโทก, และสุกัญญา แก่นงูเหลือม. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตและความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนกับภาวะซึมเศร้าของนักเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ สสอท., 4(3), 1 – 16.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4. (2563). รายงานระบบ Data Management Center (DMC). https://drive.google.com/file/d/1AjzIcvQTNgN5Y_qXsku0wAeSU--28GfM/view
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). แนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่. กระทรวงศึกษาธิการ.
เสาวลักษณ์ อนุยันต์. (2563). อนาคตทางการศึกษา: ผลกระทบจากวิกฤติการแพร่ระบาดของไวรัส COVID - 19. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 14(2), 14 – 25.
อรัญญา อินสอน, พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และนันทิยา เอกอธิคมกิจ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตและความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนกับพฤติกรรมการรังแกกันในวัยรุ่นด้อยโอกาส. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต., 35(2), 49 – 72.
อวาทิพย์ แว. (2563). COVID -19 กับการเรียนรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในวันนี้. วารสารสมาคมวิชาชีพสุขศึกษา, 35(1), 24 – 29.
Baker, R. W., & Siryk, B. (1984). Measuring adjustment to college. Journal of Counseling Psychology, 31(2), 179- 189. https://doi.org/10.1037/0022-0167.31.2.179
Buhrmester, D. (1990). Intimacy of friendship, interpersonal competence, and adjustment during preadolescence and adolescence. Child Development, 61(4), 1101-1111. https://doi.org/10.2307/1130878
Dyer, J. G., & McGuinness, T. M. (1996). Resilience: Analysis of the concept. Archives of Psychiatric Nursing, 10(5), 276-282. https://doi.org/10.1016/S0883-9417(96)80036-7
Duraku, Z. H., & Hoxha, L. (2020). The impact of Covid-19 on higher education: A study of interaction among Kosovar students' mental health, attitudes toward online learning, study skills and changes in students' life. ZH Duraku. The impact of the COVID-19 pandemic on education and wellbeing. https://www.researchgate.net/publication/341599684_The_impact_of_COVID-19_on_higher_education_A_study_of_interaction_among_Kosovar_students'_mental_health_attitudes_toward_online_learning_study_skills_and_lifestyle_changes
Grotberg, E. H. (1995). A guide to promoting resilience in children: Strengthening the human spirit. Bernard van leer foundation.
Grotberg, E. H. (Ed.). (2003). Resilience for today: Gaining strength from adversity. Greenwood Publishing Group.
Hollenstein, T., Colasante, T., & Lougheed, J. P. (2021). Adolescent and maternal anxiety symptoms decreased but depressive symptoms increased before to during COVID‐19 lockdown. Journal of Research on Adolescence, 31(3), 517-530. https://doi.org/10.1111/jora.12663
Juvonen, J., Lessard, L. M., Kline, N. G., & Graham, S. (2022). Young adult adaptability to the social challenges of the COVID-19 pandemic: The protective role of friendships. Journal of Youth and Adolescence, 51(3), 585-597. https://doi.org/10.1007/s10964-022-01573-w
Leys, C., Delacre, M., Mora, Y. L., Lakens, D., & Ley, C. (2019). How to classify, detect, and manage univariate and multivariate outliers, with emphasis on pre-registration. International Review of Social Psychology, 32(1), 1-10. https://doi.org/10.5334/irsp.289
Luthra, P., & Mackenzie, S. (2020, Mar 30). 4 Ways COVID-19 Could Change How We Educate Future Generations. World Economic Forum. https://www.weforum.org/agenda/2020/03/4-ways-covid-19-education-future-generations/
Romm, K. F., Park, Y. W., Hughes, J. L., & Gentzler, A. L. (2021). Risk and protective factors for changes in adolescent psychosocial adjustment during COVID‐19. Journal of Research on Adolescence, 31(3), 546-559. https://doi.org/10.1111/jora.12667
Rutter, M. (1985). Resilience in the face of adversity: Protective factors and resistance to psychiatric disorder. The British Journal of Psychiatry, 147(6), 598-611. https://doi.org/10.1192/bjp.147.6.598
Tabachnick, B. G., Fidell, L. S., & Ullman, J. B. (2018). Using Multivariate Statistics (7th ed.). Pearson International Publishing.
World Health Organization. (2023). The situation report on COVID19 from WHO Thailand is now available. https://www.who.int/thailand/news/detail/05-07-2023-the-situation-report-on-covid19
Zeegen, E. N., Yates, A. J., & Jevsevar, D. S. (2020). After the COVID-19 pandemic: returning to normalcy or returning to a new normal?. The Journal of Arthroplasty, 35(7), S37-S41. https://doi.org/10.1016/j.arth.2020.04.040
Zhang, J., Wu, W., Zhao, X., & Zhang, W. (2020). Recommended psychological crisis intervention response to the 2019 novel coronavirus pneumonia outbreak in China: a model of West China Hospital. Precision Clinical Medicine, 3(1), 3-8. https://doi.org/10.1093/pcmedi/pbaa006
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล ซึ่งดำเนินการโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล หรือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว