การดูแลมารดาที่มีภาวะท่อน้ำนมอุดตัน
คำสำคัญ:
ภาวะท่อน้ำนมอุดตัน, การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา, มารดาในระยะให้นมบุตรบทคัดย่อ
การอุดกั้นการไหลของน้ำนมเป็นระยะเวลานานอาจส่งผลให้เกิดภาวะท่อน้ำนมอุดตัน ซึ่งทำให้มารดามีเจ็บปวดเต้านมและไม่สุขสบาย การดูแลภาวะท่อน้ำนมอุดตันที่ไม่เหมาะสมอาจทำให้ลุกลามเป็นปัญหาเต้านมที่รุนแรง เช่น เต้านมเป็นฝีหรืออักเสบจนต้องยุติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การดูแลรักษามีเป้าหมายหลักคือการระบายน้ำนม โดยอาจใช้วิธีการประคบร้อนหรือเย็น การนวดเต้านม การรักษาด้วยคลื่นเหนือเสียง และการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเลซิติน ส่วนการพยาบาลมารดาที่มีปัญหาท่อน้ำนมอุดตันจะเน้นการดูแลเต้านมก่อนหรือขณะให้นมบุตร การเปลี่ยนพฤติกรรมการให้นมบุตรของมารดา และการนวดเต้านม บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอข้อมูลทั่วไปของภาวะท่อน้ำนมอุดตัน การรักษา การประเมินผล และการพยาบาล เพื่อการดูแลมารดาที่มีภาวะท่อน้ำนมอุดตันอย่างมีประสิทธิภาพ
References
กฤษณา ปิงวงศ์, กรรณิการ์ กันธะรักษา, และนงลักษณ์ เฉลิมสุข. (2563). ประสิทธิผลของการนวดเต้านมต่อการคัดตึงเต้านมในมารดาที่ให้นมบุตร: การทบทวนอย่างเป็นระบบ. พยาบาลสาร, 47(2), 143-155.
กฤษณา ปิงวงศ์, และกรรณิการ์ กันธะรักษา. (2560). การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมการสร้างและหลั่งน้ำนม. พยาบาลสาร, 44(4), 169-176.
พฤหัส จันทร์ประภาพ. (2560). การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. ใน ประภัทร วนิชพงษ์พันธ์, กุศล รัศมีเจริญ, และตรีภพ เลิศบรรณพงษ์ (บรรณาธิการ). ตำราสูติศาสตร์ (หน้า 427-440). กรุงเทพ: พี เอ ลีฟวิ่ง จำกัด.
ศิริรัตน์ เกียรติกูลานุสรณ์. (2561). การจัดการทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยท่อน้ำนมอุดตัน. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 24(2), 320-334.
ศศิธารา น่วมภา, พรนภา ตั้งสุขสันต์, วาสนา จิติมา, และกันยรักษ์ เงยเจริญ. (2563). การนวดเต้านมเพื่อส่งเสริมและแก้ไขปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: การปฏิบัติพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์. วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(3), 4-21.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). โครงการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ. 2562. รายงานผลฉบับสมบูรณ์. ประเทศไทย.
อังสนา วงศ์ศิริ. (2557). พลังนวดเพิ่มน้ำนม. ใน บทความวิชาการการศึกษาต่อเนื่องสาขาพยาบาลศาสตร์ เล่มที่ 14 การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (หน้า 45-52). กรุงเทพฯ: ศิริยอดการพิมพ์.
อังสนา วงศ์ศิริ. (2556, 5 – 7 มิถุนายน). การนวดเต้านม: วิถีแห่งการเพิ่มน้ำนม [เอกสารนำเสนอ]. การประชุมวิชาการนมแม่แห่งชาติ ครั้งที่ 4, กรุงเทพฯ.
อังสนา วงศ์ศิริ. (2551). การแก้ไขปัญหาหัวนมและเต้านม. ใน วิทยา ถิฐาพันธ์, นิศารัตน์ พิทักษ์วัชระ, และประทักษ์ โอประเสริฐสวัสดิ์ (บรรณาธิการ), เวชศาสตร์ปริกำเนิดในเวชปฏิบัติ (หน้า 209-213).กรุงเทพฯ: ยูเนี่ยนครีเอชั่น.
Cooper, B. B., & Kowalsky, D. (2015). Physical therapy intervention for treatment of blocked milk ducts in lactating women. Journal of Women's Health Physical Therapy, 39(3), 115¬–126. https://doi.org/10.1097/JWH.0000000000000037
Ho, L.-F., Wong, A. O., Lai, O.-K., Yip, W.-Y., Leung, P.-H., & Lee, S.-K. (2023). Change in mode of feeding after ultrasonic therapy for lactating mothers with blocked mammary ducts. Hong Kong Journal of Gynaecology, Obstetrics & Midwifery, 23(1), 41–45. https://doi.org/10.12809/hkjgom.23.1.07
Lawrence, R. A., & Lawrence, R. M. (2022). Breastfeeding: A guide for the medical profession (9th ed.). Elsevier Health Sciences.
Munsittikul, N., Tantaobharse, S., Siripattanapipong, P., Wutthigate, P., Ngerncham, S., & Yangthara, B. (2022). Integrated breast massage versus traditional breast massage for treatment of plugged milk duct in lactating women: a randomized controlled trial. International breastfeeding journal, 17(1), 43. https://doi.org/10.1186/s13006-022-00485-6
Sarki, S., Khadka, S., Khaniya, S., Rajbanshi, S., Adhikary, S., Agrawal, C. S., Srivastava, A., & Kataria, K. (2022). Management of lactational breast abscess with vacuum Suction drainage versus ultrasound-guided needle aspiration: A randomized controlled trial. Indian Journal of Surgery, 84(Suppl 3), 682–688. https://doi.org/10.1007/s12262-021-02993-x
Sokan-Adeaga, M. A., Sokan-Adeaga, A. A., and Sokan-Adeaga, E. D. (2019). A systematic review on exclusive breastfeeding practice in Sub-Saharan Africa: facilitators and barriers. Acta Scientific Medical Sciences, 3, 53-56.
U.S. Department of Agriculture, WIC breast feeding support. (2023). Breast and nipple size and shape. https://wicbreastfeeding.fns.usda.gov/breast-and-nipple-size-and-shape
Westerfield, K. L., Koenig, K., & Oh, R. (2018). Breastfeeding: Common questions and answers. American Family Physician, 98(6), 368–373.
Witt, A. M., Bolman M., Kredit S., & Vanic A. (2016). Therapeutic breast massage in lactation for the management of engorgement, plugged ducts, and mastitis. Journal of Human Lactation, 32(1), 123¬–131. https://doi.org/10.1177/0890334415619
Zhao, C., Tang, R., Wang, J., Guan, X., Zheng, J., Hu, J., Hu, G., & Song, C. (2014). Six-step recanalization manual therapy: A novel method for treating plugged ducts in lactating women. Journal of Human Lactation, 30(3), 324–330. https://doi.org/10.1177/0890334414532314
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล ซึ่งดำเนินการโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล หรือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว