ความพึงพอใจและแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของหัวหน้าสถานีอนามัยที มีต่อผลการดำเนินงาน ของคณะกรรมการบริหารเครือข่ายบริการการแพทย์และสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครราชสีมา
คำสำคัญ:
ความพึงพอใจ, แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน, หัวหน้าสถานีอนามัย, คบสอ., Satisfaction, Work motivation, Health center chief, CUPบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนานีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของคณะกรรมการ บริหารเครือข่ายบริการการแพทย์และสาธารณสุข(คบสอ.) และระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานซึงสะท้อน ผลการดำเนินงานของ คบสอ. ของหัวหน้าสถานีอนามัย และ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทีศึกษาต่อความ พึงพอใจและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างทีศึกษาคือ หัวหน้าสถานีอนามัยทุกคนทีปฏิบัติงานใน 12 อำเภอของจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 103 คน ทีได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครืองมือทีใช้ในการ วิจัยมี 3 ส่วน คือ 1) แบบสอบถามลักษณะส่วนบุคคล 2) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของ คบสอ. 5 ด้าน และ 3) แบบประเมินแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 10 ด้าน แบบสอบถามทังฉบับมีค่าความ เชือมัน โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ= แอฟาของคอนบราค (Conbrach’s Alpha Coefficient) เท่ากับ .97 การ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติแจกแจงข้อมูลเป็นความถี ร้อยละ ค่าเฉลีย และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติ เชิงวิเคราะห์ การทดสอบไควสแควร์ และสัมประสิทธิ= สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่ม ตัวอย่างเป็นเพศหญิงร้อยละ 52.0 อายุเฉลีย 43.65 ปี ส่วนใหญ่จบระดับปริญญาตรี มีสถานภาพสมรสคู่ ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข อัตราเงินเดือนปัจจุบันเฉลีย 24,828.29 บาท อายุราชการเฉลีย 22.44 ปี อายุ ราชการในตำแหน่งหัวหน้าสถานีอนามัยเฉลีย 11.50 ปี 2) ความพึงพอใจต่อการดำเนินงานโดยภาพรวมอยู่ ในระดับปานกลาง 3) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยภาพรวม อยู่ในระดับค่อนข้างมาก และ4) ระดับ การศึกษาสถานภาพสมรส ตำแหน่งปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจต่อการดำเนินงาน ส่วน ระดับการศึกษา เพศ สถานภาพสมรส มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติทีระดับ .05 และความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของ คบสอ. มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการ ปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีระดับ .05
คำสำคัญ : ความพึงพอใจ, แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน, หัวหน้าสถานีอนามัย, คบสอ.
Astract
The objectives of this survey research was to investigate: 1) satisfaction with an implementation of the Contracting Unit of Primary Care Board (CUP) on Medical and Public Health Service; 2) work motivation level on the implementation reflecting implementation outcomes of CUP among health center chiefs; and 3) relationships between the studied variables. A random sampling technique was used to recruite 103 health center chiefs from 12 sub-districts in Nakorn Ratchasima Province. The research instrument used in the study was consisted of 3 parts, including 1) a questionnaire on personal characteristics; 2) an evaluation form on satisfaction in 5 aspects of CUP implementation; and 3) an evaluation form on work motivation in 10 aspects of implementation outcomes. The instrument attained a reliability with Conbrach Alpha coefficient of .97. Data were analyzed by descriptive statistics as frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation; and inferential statistics as Chi-Square test and Pearson’s correlation coefficient for relationships between the studied variables. The findings were that: 1) most of the health center chiefs were female (52.0%), 43.65 years old on average, obtaining bachelor degree, married, having posted as public health academicians, had averaged salary of 24,828.29 baht, had averaged work duration of 22.44 years, and had averaged work duration as health center chief of 11.50 years; 2) overall satisfaction with CUP implementation was at moderate level, with fairly high levels on planning and coordinating aspects; 3) overall work motivation was at fairly high level, with fairly high levels among aspects of duty characteristics, responsibility, achievement, creditability, work condition, policy and administration, governance, colleague and network relationship, budget, health service network management, and supervision; 4) education level, marital status, and current position were related to satisfaction with CUP implementation. Sex, education level, and marital status were statistically significant related to work motivation. Satisfaction with CUP implementation was statistically significant related to work motivation.
Keywords : Satisfaction, Work motivation, Health center chief, CUP
Downloads
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล ซึ่งดำเนินการโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล หรือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว