ศึกษาการปฏิบัติตัวของหญิงหลังคลอดที่อาศัยในเขตเทศบาลนคร และเขตชานเมืองนครราชสีมา ทีได้รับบริการอนามัยครอบครัว จากนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 ระหว่างปี 2548 - 2552

ผู้แต่ง

  • สมจิตร วงษาหล้า พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
  • รสสุคนธ์ พิไชยแพทย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
  • กนิษฐา ปินสุวรรณ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา

คำสำคัญ:

หญิงหลังคลอด, การปฏิบัติตัว, postpartum, health behavior

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยนีเป็นการศึกษาการปฏิบัติตัวของหญิงหลังคลอดในการมาฝากครรภ์ครังแรก การใช้ยาสตรี หลังคลอด การให้นมบุตร และการวางแผนครอบครัว โดยศึกษาข้อมูลจากสมุดลงทะเบียนการให้บริการ อนามัยครอบครัวของภาควิชาการพยาบาลครอบครัวและชุมชน ที.ใช้บันทึกผลการให้บริการอนามัย ครอบครัวแก่หญิงหลังคลอดในเขตเมืองและชานเมืองนครราชสีมา ซึ.งให้บริการโดยนักศึกษาพยาบาล ศาสตร์ชั้นปีที่ 3 ที่ฝึกภาคปฏิบัติ วิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 1 รหัสวิชา พย. 1310 ระหว่าง ปี พ.ศ. 2548 – 2552 ตามหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ผลการศึกษาพบว่า อายุเฉลี่ยของหญิงหลังคลอด ตังแต่ปี 2548-2552 มีความใกล้เคียงกันมาก โดยอายุเฉลี่ยรวม 5 ปี เท่ากับ 27.21 ปี 2) หญิงหลังคลอดกลุ่ม อายุ 20-25 ปี มีอัตราการคลอดมากที.สุดคือร้อยละ 27.64 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 26-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 27.29 และพบว่ามีหญิงหลังคลอดอายุน้อยกว่า 20 ปีถึงร้อยละ 15.21 และอายุมากกว่า 35 ปีมากถึงร้อยละ 11.75 3) อายุครรภ์เมื่อฝากครรภ์ครังแรกเฉลี่ย 5 ปี เท่ากับ 14.78 สัปดาห์ และพบว่าในแต่ละปี มีค่าใกล้เคียง กัน 4) หญิงหลังคลอดมีอัตราการใช้ยา เฉลี่ย 5 ปี ร้อยละ 12.64 และพบว่าในแต่ละปี มีอัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 5) หญิงหลังคลอดเลียงลูกด้วยนมมารดาเพียงอย่างเดียวร้อยละ 68.79 เลียงด้วยนมผสมอย่างเดียว ร้อยละ 9.47 และเลียงด้วยนมทังสองชนิดควบคู่กันร้อยละ 21.74 และอัตราการให้นมผสมเพียงอย่างเดียว ลดลงอย่างต่อเนื.องจากร้อยละ 11.30 ในปี 2548 เป็นร้อยละ 7.53 ในปี 2551 และเหลือเพียงร้อยละ 6.74 ใน ปี 2552 6) วิธีการคุมกำเนิดหลังคลอด พบว่ายาฉีดได้รับความนิยมใกล้เคียงกับยาเม็ดมาตลอด 5 ปี รวมถึง วิธีการคุมกำเนิดชนิดอื่นๆ มีอัตราแตกต่างกันไม่มากนักในแต่ละปี และวิธีที่นิยมใช้มากที่สุดคือยาฉีด คุมกำเนิด และยาเม็ดคุมกำเนิดตามลำดับ

คำสำคัญ : หญิงหลังคลอด, การปฏิบัติตัว

 

Abstract

This research aims to study the behaviors of postpartum women composed of antenatal care, using folk-postpartum medicine, newborn feeding, and family planning. Data collection was retrospective method which operated from the registration books of maternal and newborn services belonging to department of family and community nursing. The books were used to record learning activities of thirdyear nursing students who gave home visits to partum women in urban and nearby area of Amphoe Mueang Nakhonratchasima between the years 2005 to 2009. These activities are a part of The Practical Family and Community Health Nursing part 1 under the bachelor of nursing. The results showed as follows: 1) The average age of postpartum women from year 2005 to 2009 was very similar. The overall 5-year average age was 27.21 years. 2) Postpartum women aged 20-25 years are most at 27.64 percent, followed by the 26-30 year age group and found that postpartum women younger than 20 years to 15.21 percent and more than 35 years of age. up to 11.75 percent. 3) Average gestational age at first antenatal care during five years was 14.78 weeks and found to be similar each year. 4) Postpartum women used folk medicine or alcoholic herb or “Yadong” similar average 5 years as12.64 percent and found annual rate of not less than 10 percent. 5) Rate of breastfeeding was 68.79 percent, infant formula milk was 9.47 percent for five-year average and both together was 21.74 percent and using just infant formula milk continuous decrease of 11.30 percent in year 2005 to 7.53 percent in 2008 and only 6.74 percent in 2009. 6) Contraceptive methods, through 5 year, popular methods were contraceptive injection and pills with similar using rate in each year including other methods.

Keywords : postpartum, health behavior

Downloads